โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘
แนวการบริหารราชการยุคใหม่ ๑.พรรคการเมืองที่จัดตั้งรัฐบาลมีนโยบายการ บริหารราชการแผ่นดินชัดเจนและมีการ ปฏิบัติตามนโยบายอย่างจริงจัง ๒.นโยบายมีลักษณะเป็นด้าน มีความเป็นบูรณา การสูง ๓.มีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ ๔.งบประมาณจัดสรรสำหรับโครงการหลักเป็น เงินจำนวนมาก
ระบบการบริหารราชการแบบบูรณาการ ในระดับจังหวัด กรอบแนวคิด ๑. เพื่อให้เกิดการ”ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ” ๒. เพื่อกระจายอำนาจการบริหาร ๓. เพื่อกระจายการบริหาร งบประมาณ
ระบบการบริหารราชการแบบบูรณาการ ในระดับจังหวัด แนวทางปฏิบัติ ๑. จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อบริหาร เพื่อการพัฒนา เพื่อพิจารณาการลงทุน เพื่อการติดตาม ๒. สร้างโครงการที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจน มี ลักษณะการเชื่อมโยงกันกับนโยบายทั้งในระดับ ท้องถิ่น จังหวัด กระทรวง ประเทศ และสอดคล้องกับทรัพยากรของท้องถิ่น ๓. โครงการต่างๆที่คิดขึ้นควรคุ้มค่าต่อการลงทุน ๔. มีการติดตามอย่างเป็นระบบด้วยระบบ ฐานข้อมูลและของจริง
บทบาทสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดินให้เกิดความ คุ้มค่า ๑. ตรวจสอบงบการเงิน ( FINANCIAL AUDIT ) - งบการเงินทั่วไป - งบดุล ๒. ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย (COMPLIANCE AUDIT) - การจัดซื้อจัดจ้าง - การสืบสวนสอบสวน ๓. ตรวจสอบการดำเนินงาน (PERFORMANCE AUDIT)
แนวคิดการตรวจเงินแผ่นดินยุคใหม่ มาตรการป้องปราม - การใช้ระบบ IT เพื่อช่วยการตรวจสอบ - การใช้มาตรการเพื่อพัฒนามาตรฐานงาน - การเสนอแนะแก้ไขปรับปรุงกฏ ระเบียบที่เป็น อุปสรรคต่อการปฏิบัติราชการ มาตรการตรวจสอบความคุ้มค่าการใช้จ่ายเงินงบประมาณ แผ่นดิน - ผลสำเร็จของโครงการได้ตรงตามวัตถุประสงค์ - โครงการสามารถส่งผลต่อเนื่องสู่โครงการอื่น
การพิจารณาความคุ้มค่าการใช้จ่ายเงิน งบประมาณของโครงการ โครงการต่างๆที่จัดตั้งขึ้น วัตถุประสงค์ - ล้มเหลวสูญเสียงบประมาณ - ได้ผลผลิตยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ - ได้ผลลัพธ์บรรลุวัตถุประสงค์
แนวทางการตรวจสอบโครงการ ซีอีโอ ๑. การพัฒนาการปฏิบัติการของคณะกรรมการเพื่อการ บริหาร เพื่อการพัฒนา เพื่อพิจารณาการลงทุน เพื่อการติดตามการปฏิบัติงาน ๒. โครงการที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจน มีลักษณะการ เชื่อมโยงกันกับนโยบายทั้งในระดับ ท้องถิ่น จังหวัด กระทรวง ประเทศและ สอดคล้องกับทรัพยากรของท้องถิ่น ๓. โครงการต่างๆที่คิดขึ้นควรคุ้มค่าต่อการลงทุนทั้งภาค เศรษฐกิจและ/หรือสังคม ๔. มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการติดตาม( MIS-EIS )
วิเคราะห์ตัวอย่างการสร้างโครงการ - โครงการบริการไฟฟ้าโดยระบบโซล่าเซลล์ - โครงการสร้างเมืองใหม่บริเวณชายแดน - โครงการกำจัดขยะโดยระบบเตาเผาและระบบฝังกลบ - โครงการจัดสร้างตลาดกลางเพื่อส่งเสริม OTOP - โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว - ฯลฯ
ระบบการบริหารราชการแบบบูรณาการใน ระดับจังหวัด สรุป ๑. เป็นจุดเปลี่ยนของการเกิดแนวคิดการบริหารแบบ ครบวงจรในระดับจังหวัดหรือท้องถิ่น ๒. สนับสนุนแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนและช่วย เป็นเกราะป้องกันภัยจากวิกฤตเศรษฐกิจได้ดี ๓. การตรวจสอบความสำเร็จของโครงการต่างๆจะเป็น ดัชนีชี้วัดอัตราการพัฒนาของท้องถิ่นการพัฒนา ทรัพย์สินเชิงบุคลากร