เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 การประชุมชี้แจง เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 วันพุธที่ 3 พฤษภาคม 2549 เวลา 10.00 – 12.00 น. และ วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม 2549 เวลา 14.00-16.00 น.
Customer Satisfaction วัตถุประสงค์ของการให้เงินรางวัลประจำปี พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ม. 45, 46, 47 Customer Satisfaction ผลผลิต (Output) ปัจจัยนำเข้า (Input) การประเมินผล การจัดทำ ความตกลง การให้รางวัลตอบแทน ม. 48, 49
ส่วนราชการที่เข้าร่วมพัฒนาการปฏิบัติราชการ กลุ่มที่ 3 กลุ่มนำร่อง (147) กระทรวงนำร่อง 10 กระทรวง (72 ส่วนราชการ) จังหวัด 75 จังหวัด ส่วนราชการ กระทรวง/กรม 142 แห่ง สถาบันการศึกษา 62 แห่ง มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ จังหวัด จังหวัด 75 จังหวัด ส่วนราชการ กระทรวง/กรม 142 แห่ง สถาบันการศึกษา 73 แห่ง มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ปทุมวัน สถาบันการพลศึกษา จังหวัด จังหวัด 75 จังหวัด กลุ่มที่ 2 กลุ่มท้าทาย (23) ส่วนราชการ 14 แห่ง มหาวิทยาลัย 9 แห่ง กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคบังคับ (68) ส่วนราชการ 57 แห่ง มหาวิทยาลัย 11 แห่ง รวม 238 แห่ง รวม 279 แห่ง รวม 290 แห่ง 2547 2548 2549
การจัดสรรเงินรางวัลประจำปี หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลให้แก่ส่วนราชการ ระดับกรมและจังหวัด สรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการ (รอบแรก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลของส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด ให้แก่ข้าราชการและ ลูกจ้างประจำ
จำนวนเงินรางวัลที่จะได้รับขึ้นอยู่กับ คะแนนผลการประเมิน (Ri) การแปลงคะแนนผลการประเมินเป็นอัตราการจ่ายเงินรางวัล [B(Ri)] ขนาดของหน่วยงาน (เงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการและ ลูกจ้างประจำของหน่วยงาน (Pi) ผลรวมของส่วนแบ่งทั้งหมดที่คิดจากอัตราการจ่ายเงินรางวัล คูณด้วยขนาดของหน่วยงาน [B(Ri)Pi]
แนวทางการคำนวณจัดสรรเงินรางวัล ใช้ฐานเงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการและลูกจ้างประจำที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างจากเงินงบประมาณ งบบุคลากร (หมวดเงินเดือนและค่าจ้างเดิม) ของข้าราชการและลูกจ้างประจำทุกตำแหน่ง ณ วันที่ 1 กันยายน 2548 ที่ได้รับจากกรมบัญชีกลาง เป็นฐานในการคำนวณ
แนวทางการคำนวณจัดสรรเงินรางวัล ตามที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ส่วนกลาง ส่วนกลางที่ปฏิบัติราชการในภูมิภาค ส่วนภูมิภาค 1. คะแนนการประเมินผล ส่วนราชการ ต้นสังกัด ใช้คะแนนเฉลี่ยของจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานส่วนกลางที่ปฏิบัติราชการในภูมิภาคดังกล่าว จังหวัด 2. ข้าราชการและลูกจ้างประจำ จะได้รับเงินรางวัลจาก
ผู้มีสิทธิได้รับจัดสรรเงินรางวัลประจำปี ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ
เงื่อนไขและข้อจำกัด การจัดสรรเงินรางวัลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 มีเงื่อนไขและข้อจำกัดที่ส่งผลกระทบต่อจำนวนเงินรางวัลประจำปีที่ส่วนราชการและจังหวัดจะได้รับ ดังนี้ 1. วงเงินรางวัลที่ได้รับจัดสรร 5,550 ล้านบาท เท่ากับที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 2. ส่วนราชการมีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 จำนวน 41 ส่วนราชการ 3. ทุกส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด เข้าสู่ระบบการประเมินเหมือนกันโดยไม่มีการแบ่งกลุ่มบังคับ กลุ่มท้าทาย และกลุ่มนำร่อง 4. อัตราการจ่ายเงินรางวัล [B(Ri)] เปลี่ยนแปลงไปจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 โดยจะมีช่วงชั้น (Interval) ที่ละเอียดขึ้น 5. การแยกฐานเงินเดือนของตำรวจภูธรออกจากฐานเงินเดือนของส่วนราชการประจำจังหวัด เนื่องจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างตำรวจภูธรจังหวัดไปเป็นราชการบริหารส่วนกลาง
ที่มา 5,550 ล้านบาท 5,550 ล้านบาท 4,440 ล้านบาท 550 ล้านบาท ก.พ.ร. ในการประชุมเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2549 และ 28 เมษายน 2549 วงเงินรางวัลที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด 5,550 ล้านบาท วงเงินรางวัลที่ได้รับจัดสรรทั้งหมด 5,550 ล้านบาท 4,440 ล้านบาท 550 ล้านบาท 560 ล้านบาท จัดสรรรอบแรก จัดสรรรอบที่ 2 (ประมาณเดือนสิงหาคม) เนื่องจากคะแนนผลการประเมิน รอบแรกของบางส่วนราชการ และจังหวัด ยังไม่สมบูรณ์
อัตราการจ่ายเงินรางวัล วิธีการจัดสรรเงินรางวัล จัดสรรให้ทุกส่วนราชการและจังหวัดตามผลการประเมินการปฏิบัติราชการ และฐานเงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการและลูกจ้างประจำ 4,440 ล้านบาท อัตราการจ่ายเงินรางวัล Ri B(Ri) 5 3.00 4.75 – 4.99 2.75 4.50 – 4.74 2.50 4.25 – 4.49 2.25 4.00 – 4.24 2.00 3.75 – 3.99 1.75 3.50 – 3.74 1.50 3.25 – 3.49 1.25 3.00 – 3.24 1.00 2 1 เงินรางวัลที่ส่วนราชการจะได้รับ = A * W A = เงินรางวัลรวมที่ใช้คำนวณรอบแรก = 4,440 ล้านบาท W = B(Ri)Pi ∑ B(Ri)Pi = อัตราการจ่ายรางวัลของส่วนราชการ × ฐานเงินเดือน ของส่วนราชการ ผลรวมของอัตราการจ่ายรางวัลของส่วนราชการ × ฐานเงินเดือนของส่วนราชการ
วิธีการจัดสรรเงินรางวัล 550 ล้านบาท เงินรางวัลชดเชย จัดสรรให้ส่วนราชการในกลุ่มท้าทายและกลุ่มนำร่องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 รวมทั้งส่วนราชการที่เป็นราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบัติราชการอยู่ในภูมิภาคที่ส่วนราชการต้นสังกัดอยู่ในกลุ่มภาคบังคับ ที่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 ได้รับเงินรางวัลมากกว่ากลุ่มภาคบังคับ 2 เท่า ผลต่างของคะแนนผลการประเมินปี 2548 และปี 2547 ยิ่งสูงยิ่งได้รับเงินรางวัลชดเชยสูง
การจัดสรรเงินรางวัลประจำปี หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลให้แก่ส่วนราชการ ระดับกรมและจังหวัด สรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการ (รอบแรก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลของส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด ให้แก่ข้าราชการและ ลูกจ้างประจำ
สรุปผลการประเมินรอบแรก ประจำปี พ.ศ. 2548 สรุปผลการประเมินรอบแรก ประจำปี 2548 ส่วนราชการ จังหวัด มหาวิทยาลัย รวมทุกหน่วยงาน คะแนนสูงสุด 4.9966 4.5788 4.6721 คะแนนต่ำสุด 3.7337 3.5621 2.6067 คะแนนเฉลี่ย 4.6499 4.1095 4.1455 4.3925
ผลประเมินของส่วนราชการ ผลประเมินของมหาวิทยาลัย ผลประเมินของทุกหน่วยงาน ผลประเมินของจังหวัด ผลประเมินของมหาวิทยาลัย ผลประเมินของทุกหน่วยงาน
อัตราการจ่ายรางวัลแก่ผลการประเมิน อัตราการจ่ายรางวัลแก่ อัตราการจ่ายรางวัลแก่ผลการประเมิน เพื่อใช้คำนวณเงินรางวัล : ปี 2548 มีช่วงชั้นที่ละเอียดกว่า ปี 2547 ตารางที่ 1 อัตราการจ่ายรางวัลแก่ผลการประเมิน 2548 (ใหม่) 2547 (เก่า) ผลการประเมิน (Ri) อัตราการจ่ายรางวัลแก่ ผลการประเมิน B(Ri) 5.00 3.00 3 4.75-4.99 2.75 4.50-4.99 2.5 4.50-4.74 2.50 4.25-4.49 2.25 4.00-4.49 2 4.00-4.24 2.00 3.75-3.99 1.75 3.50-3.99 1.5 3.50-3.74 1.50 3.25-3.49 1.25 3.00-3.49 1 3.00-3.24 1.00
การจัดสรรเงินรางวัลประจำปี หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลให้แก่ส่วนราชการ ระดับกรมและจังหวัด สรุปผลการประเมินการปฏิบัติราชการ (รอบแรก) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัลของส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด ให้แก่ข้าราชการและ ลูกจ้างประจำ
หลักเกณฑ์ ต้องไม่นำเงินรางวัลทั้งหมดที่ได้รับไปจัดสรรโดยวิธีการหารเฉลี่ยให้ผู้มีสิทธิได้รับเงินรางวัลได้รับเท่ากัน แต่ต้องจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการและหลักเกณฑ์ วิธีการจัดสรรเงินรางวัลให้แก่ข้าราชการและลูกจ้างประจำ ทั้งนี้ต้องประกาศหลักเกณฑ์ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำได้ทราบโดยทั่วกันด้วย ต้องนำไปจัดสรรให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับพิจารณาจัดสรรเงินรางวัลประจำปี ได้แก่ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ
หลักเกณฑ์ ผู้มีสิทธิได้รับการพิจารณาจัดสรรเงินรางวัลต้องได้รับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ โดยแบ่งการประเมินเป็น 5 ระดับเช่นเดียวกันกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด โดยที่ระดับที่ 5 คือ มีผลการปฏิบัติราชการดีเยี่ยม และระดับที่ 1 คือ มีผลการปฏิบัติราชการไม่เป็นที่ยอมรับ ผู้ที่มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่ำกว่า 3 ไม่มีสิทธิได้รับเงินรางวัล จำนวนเงินรางวัลที่ผู้มีสิทธิจะได้รับขึ้นอยู่กับการมีส่วนร่วมผลักดันให้ผลงานของหน่วยงาน ส่วนราชการ หรือจังหวัด บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
หลักเกณฑ์ ให้ส่วนราชการเป็นผู้จัดสรรเงินรางวัลให้แก่ข้าราชการและลูกจ้างประจำที่สังกัดราชการบริหารส่วนกลางและราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบัติราชการอยู่ในภูมิภาค และให้จังหวัดเป็นผู้จัดสรรเงินรางวัลให้แก่ข้าราชการและลูกจ้างประจำที่สังกัดราชการบริหารส่วนภูมิภาค เมื่อส่วนราชการ สถาบันอุดมศึกษา และจังหวัด กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัล ให้แก่ข้าราชการและลูกจ้างประจำแล้ว ขอให้ส่งหลักเกณฑ์ดังกล่าวไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2549
รางวัลสำหรับผลงานที่โดดเด่นในการผลักดันงานของหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมาย วิธีการ เงินรางวัล ที่ได้รับทั้งสิ้น ส่วนที่หนึ่ง รางวัลสำหรับ ความร่วมมือ ส่วนที่สอง รางวัลสำหรับผลงานที่โดดเด่นในการผลักดันงานของหน่วยงานให้บรรลุเป้าหมาย ให้ส่วนราชการ/จังหวัดแต่งตั้งคณะทำงานจัดสรรเงินรางวัลขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่พิจารณาหลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดสรรเงินรางวัล และต้องประกาศหลักเกณฑ์ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำได้ทราบโดยทั่วกัน
วิธีการ เงินรางวัลส่วนที่หนึ่ง : รางวัลสำหรับความร่วมมือกัน วิธีที่ 1 เฉลี่ยตามขนาดของการสร้างผลงาน (Contribution) ของแต่ละหน่วยงาน โดยใช้จำนวนเงินเดือนของบุคลากรแต่ละกอง/สำนักเป็นตัวเลขสะท้อนถึงขนาดของการสร้างผลงาน เงินรางวัลส่วนที่ 1 = เงินรางวัลรวมสำหรับความร่วมมือ [Pi / Pi] เงินรางวัลรวมสำหรับความร่วมมือ = เงินรางวัลรวมที่หน่วยงานได้รับ สัดส่วนที่แบ่งให้สำหรับความร่วมมือ (เช่น 40%) Pi = เงินเดือนของบุคลากรในแต่ละหน่วยงาน Pi = เงินเดือนรวมของบุคลากรทุกหน่วยงาน
วิธีการ เงินรางวัลส่วนที่หนึ่ง : รางวัลสำหรับความร่วมมือกันระหว่างกอง/สำนัก หรือสำนักงาน วิธีที่ 2 เฉลี่ยตามจำนวนคนในหน่วยงาน เหมาะสำหรับหน่วยงานที่มีบุคลากรระดับล่างจำนวนมากที่ขยันขันแข็ง มุ่งมั่นและมีบทบาทสำคัญใน การสร้างผลงานให้กับส่วนราชการ/จังหวัด เงินรางวัลส่วนที่ 1 = เงินรางวัลรวมสำหรับความร่วมมือ [Hi / Hi] เงินรางวัลรวมสำหรับความร่วมมือ = เงินรางวัลรวมที่หน่วยงานได้รับ สัดส่วนที่แบ่งให้สำหรับความร่วมมือ (เช่น 40%) Hi = จำนวนบุคลากรในแต่ละหน่วยงาน Hi = จำนวนรวมของบุคลากรทุกหน่วยงาน
วิธีการ เงินรางวัลส่วนที่สอง : รางวัลสำหรับความโดดเด่นของผลงาน เป็นสัดส่วนเงินรางวัลที่คณะทำงานฯ พิจารณาจัดสรรให้แต่ละหน่วยงาน ตามผลงานที่แตกต่างกันของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ควรให้สอดรับกับเกณฑ์การประเมินระดับกรมและจังหวัด นั่นคือ มีระดับคะแนนจาก 1-5 โดยคะแนน 1 หมายถึง ผลงานระดับต่ำสุด และ คะแนน 5 หมายถึง ผลงานระดับสูงสุด หน่วยงานที่ได้คะแนนผลการประเมินต่ำกว่า 3 จะไม่มีสิทธิได้รับเงินรางวัล ส่วนที่ 2 นี้
วิธีการ เงินรางวัลส่วนที่สอง : รางวัลสำหรับความโดดเด่นของผลงาน สูตรการคำนวณ เงินรางวัลที่แต่ละหน่วยงานได้รับ = เงินรางวัลรวมสำหรับความโดดเด่นของผลงาน B(Ri) Pi B(Ri) Pi B(Ri) Pi = ส่วนแบ่ง (Share) ของเงินรางวัลของแต่ละหน่วยงาน = อัตราการจ่ายรางวัล เงินเดือน B(Ri) Pi = ผลรวมของส่วนแบ่ง (Share) ทั้งหมด
สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป ส่วนราชการ/จังหวัดยืนยันคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 กลับไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2549 สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผลและคำนวณจัดสรรเงินรางวัลอีกครั้ง แล้วแจ้งยืนยันไปยังส่วนราชการ/จังหวัดต่างๆ ส่วนราชการ/จังหวัดกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัล ให้แก่ข้าราชการและลูกจ้างประจำ และประกาศให้ทราบทั่วกัน ส่วนราชการ/จังหวัดเบิกจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้มีสิทธิ ส่วนราชการ/จังหวัดส่งหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินรางวัล ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2549
กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th สำนักงาน ก.พ.ร. www.opdc.go.th แหล่งข้อมูล กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th สำนักงาน ก.พ.ร. www.opdc.go.th โทร. 0 2356 9999 ต่อ 8866, 8869, 8814