Information Technology I

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
Advertisements

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Technology for Teacher
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เด็กหญิงนฤมล พรมม่วง เลขที่ 29 ชั้น ม.2/2
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ computer หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Central Processing Unit
ชุดที่ 2 Hardware.
Introduction to computers
เข้าใจคอมพิวเตอร์ ด้วยตัวเราเอง สาระการเรียนรู้ การซ่อมประกอบ ไมโครคอมพิวเตอร์
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
COMPUTER.
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
Chapter 1 Introduction to Information Technology
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคำนวณอีเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบมาใช้ในการจัดการคำนวณงานทางธุรกิจ เครื่องจักรทางอีเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานได้โดยอัตโนมัติตามความต้องการของผู้ใช้
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
CAD / CAM CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Information Technology
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
คอมพิวเตอร์.
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
โดย นายธีระพงษ์ มะลัยทิพย์
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
วิวัฒนการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ง41101 การงานพื้นฐานอาชีพ 1 ครูมาโนชญ์ แสงศิริ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิจิตร เขต 1.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอ เรื่อง คอมพิวเตอร์ยุคที่ สาม (T HIRD G ENERATION : ) เสนอ อาจารย์ อภิศักดิ์ พัฒน จักร จัดทำโดย กลุ่มที่ 3 SC-ICT SEC.1 นายจีรพัฒน์ อุมัษเฐียร.
วิชาคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นายดำรงเกียรติ อาศา นายปรมินทร์ สิ้นเซ่ง
สมาชิกในกลุ่ม. 1. นายอาดัม เจะอูมา. 2. นางสาวยาวารียะห์ แยนา. 3
ความหมายและประเภท ของคอมพิวเตอร์ โดย นางสาวปานตา สีฟ้า
Computer What are they? – อุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ที่ทำงานภายใต้คำสั่งงานที่เก็บอยู่ ในหน่วยความจำ โดยคอมพิวเตอร์ จะ สามารถรองรับ ข้อมูล หรือ Input ทำการประมวลผล.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Information Technology I เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology I ศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Introduction to Computer Charter 1 2 Chapter 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Introduction to Computer

คอมพิวเตอร์ คืออะไร (What’s Computer) ? Charter 1 3 คอมพิวเตอร์ คืออะไร (What’s Computer) ?

คอมพิวเตอร์ คืออะไร (What’s Computer) ? Charter 1 4 คอมพิวเตอร์ คืออะไร (What’s Computer) ? คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Device) ที่ใช้ในการ ประมวลผล (Process) ข้อมูล (Data) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ตามที่ต้องการ ประมวลผล (Process) ได้แก่ - การคำนวณ (Calculation) - การเก็บข้อมูล (Storage) - การตัดสินใจ (Decision) - การโปรแกรม (Programmable)

ทำไมต้องใช้คอมพิวเตอร์ ? Charter 1 5 ทำไมต้องใช้คอมพิวเตอร์ ? จุดเด่นของคอมพิวเตอร์ 1. ความเร็วในการทำงาน (Speed) 2. ความถูกต้องแม่นยำของข้อมูล (Accuracy) 3. ความสามารถในการเก็บข้อมูล (Storage)

ยุคของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ยุค Charter 1 6 ยุคของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ยุค 1. ยุคที่ 1 หลอดสุญญากาศ Thermion Valve (ค.ศ. 1951 - 1985) 2. ยุคที่ 2 ทรานซิสเตอร์ Transistor (ค.ศ.1959 - 1964) 3. ยุคที่ 3 วงจรรวม Integrate Circuit : IC (ค.ศ.1965 - 1970) 4. ยุคที่ 4 วงจรรวมขนาดใหญ่ Large Scale Integrate Circuit : LSI (ค.ศ.1971 - ปัจจุบัน)

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ Charter 1 7 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน (IPOS) 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2. หน่วยประมวลผลข้อมูล (Processing Unit) 3. หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) 4. หน่วยเก็บข้อมูล (Storage Unit)

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ Charter 1 8 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ Processing Unit Input Unit Output Unit Storage Unit

Charter 1 9 ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานหรืออุปกรณ์ที่ใช้สร้าง 1. เครื่องจักรกลคำนวณ (Mechanical Computer) 2. เครื่องคำนวณจักรกลไฟฟ้าหรือเครื่องกึ่งจักรกลกึ่งไฟฟ้า (Electromechanical Computer) 3. เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Computer)

ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล Charter 1 1010 ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล 1. คอมพิวเตอร์แบบอนาลอก (Analog Computer) 2. คอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Computer) 3. คอมพิวเตอร์แบบไฮบริด (Hybrid Computer)

ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน Charter 1 1111 ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน 1. คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ (General Purpose Computer) 2. คอมพิวเตอร์เฉพาะกิจ (Special Purpose Computer)

ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดของเครื่อง Charter 1 1212 ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาดของเครื่อง 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) 4. เวิร์กสเตชันคอมพิวเตอร์ (Workstation Computer) 5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) 6. คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network Computer) 7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer)