วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส 2000-1301 เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส 2000-1301 เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น โดย...ว่าที่ ร.อ.ชัชวาลย์ จันทร์กลิ่น วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
e-mail : chanklin08@hotmail.com โทร. 0-3252-0500 ต่อ 204 e-mail : chanklin08@hotmail.com
สาระการเรียนรู้ 1. หลักการอ่านภาษาบาลี สระ พยัญชนะ เครื่องหมายต่าง ๆ 2. การอ่านภาษาบาลี จากตัวอย่าง จากพุทธศาสนสุภาษิต
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อธิบายหลักเกณฑ์การอ่านภาษาบาลีได้ 2. สามารถอ่านภาษาบาลีเบื้องต้นได้ 3. สามารถอ่านภาษาบาลีจากตัวอย่างพุทธศาสนสุภาษิตได้
แหล่งกำเนิดภาษาบาลี เชื่อกันว่าภาษาบาลีมีรากฐานมาจากภาษามาคธี หรือ ภาษามคธ ในแคว้นมคธ ประเทศอินเดีย
อักษรที่ใช้เขียนภาษาบาลี ภาษาบาลีไม่มีอักษรเป็นของตนเองโดยเฉพาะ มีแต่เสียงเท่านั้น ดังนั้นภาษาบาลีจึงใช้อักษรใดเขียนก็ได้
หลักการอ่านภาษาบาลี สระ สระที่ใช้ในภาษาบาลีมี ๘ ตัว คือ อะ – อา – อิ – อี – อุ – อู – เอ – โอ
หากไม่ปรากฏรูปสระใดให้ออกเสียงสระ อะ เช่น สห อ่านว่า สะหะ ติสรเณน อ่านว่า ติสะระเณนะ
พยัญชนะ พยัญชนะในภาษาบาลีมี ๓๓ ตัว โดยแบ่งเป็น ๕ วรรค กับ 1 เศษวรรค วรรค กะ = ก ข ค ฆ ง วรรค จะ = จ ฉ ช ฌ ญ
การออกเสียงต้องออกเสียง อะ ทุกตัว วรรค ฏะ = ฏ ฐ ฑ ฒ ณ วรรค ตะ = ต ถ ท ธ น วรรค ปะ = ป ผ พ ภ ม เศษวรรค = ย ร ล ว ส ห ฬ และ การออกเสียงต้องออกเสียง อะ ทุกตัว
วิสุ อ่านว่า วิสุง , ตหิ อ่านว่า ตะหิง เครื่องหมายต่าง ๆ 1. ( ) เรียกว่า นิคหิต = วงกลมเล็ก ๆวางไว้บนตัวอักษร มีค่าเท่ากับแม่ กง เช่น กํ อ่านว่า กัง สํ อ่านว่า สัง วิสุ อ่านว่า วิสุง , ตหิ อ่านว่า ตะหิง
วนฺทามิ อ่านว่า วันทามิ 2. ( . ) เรียกว่า พินทุ = จุดกลมทึบเขียนไว้ใต้พยัญชนะ หมายถึงตัวสะกดเวลาอ่านเหมือนมีไม้หันอากาศ เช่น จนฺโท อ่านว่า จันโท วนฺทามิ อ่านว่า วันทามิ
หากมีรูปสระอื่นให้ออกเสียงตามสระนั้น เช่น สิกฺขา อ่านว่า สิกขา
3. บางครั้งใช้ ( . ) เพื่อเป็นตัวควบกล้ำ โดยออกเสียงกึ่งมาตรา 3. บางครั้งใช้ ( . ) เพื่อเป็นตัวควบกล้ำ โดยออกเสียงกึ่งมาตรา เช่น พฺราหมณ อ่านว่า พราม-มะ-ณะ พฺยาธิ อ่านว่า พยา-ธิ
อตฺโถ อตฺถสฺส นกฺขตฺตํ กิจกรรมฝึกอ่าน อิตฺถีปิ ปณฺฑิตา โหติ ขโณ โว มา อุปจฺจะคา อตฺโถ อตฺถสฺส นกฺขตฺตํ
กิ กริสฺสนฺติ ตารกา สุตํ ปญญาย วฑฺฒตํ วิสฺสาสา ภยมนฺเวติ น ทีฆมายุ ลภเต ธเนน
สวัสดี