การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
GOAL ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ “มีความมั่นคงด้านสุขภาพ” หน่วยบริการปฐมภูมิ “มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์ที่กำหนด”
“ความมั่นคงด้านสุขภาพ” 1 “ความมั่นคงด้านสุขภาพ” หมายถึง การมีชีวิตอยู่โดย... 1. ไม่ตายถ้าไม่สมควรตาย 2. ไม่เจ็บป่วยโดยไม่จำเป็น 3. เมื่อเจ็บป่วยต้องได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม 4. ไม่เกิดการหย่อนสมรรถภาพ หรือพิการ โดยไม่จำเป็น 5. เมื่อหย่อนสมรรถภาพหรือพิการก็ยังสามารถ มีคุณภาพชีวิตที่ดีพอสมควร จรัส สุวรรณเวลา 2539 “เปิดระบบสาธารณสุขในอุดมทัศน์สู่การปฏิรูปเพื่อสุขภาพ” จับกระแส ปีที่ 1 ฉบับที่7-8 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2539
หน่วยบริการปฐมภูมิ “มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์ที่กำหนด” 2 หน่วยบริการปฐมภูมิ “มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์ที่กำหนด” เกณฑ์ที่กำหนด 1. เกณฑ์มาตรฐานในระบบคุณภาพ (เป็นเครื่องมือในการกำกับ และประกันคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิ เพื่อให้ได้ผลผลิตและผลลัพธ์บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน) 2. เกณฑ์ตามนโยบายของกระทรวง สธ.
1) เกณฑ์มาตรฐานระบบคุณภาพ 1. มาตรฐาน input: มาตรฐานการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ - วัดปัจจัยนำเข้า (ด้านคน เครื่องมือ/อุปกรณ์ ขอบเขตบริการ) - ผลการประเมิน = นำไปใช้ในการพัฒนาทางการบริหาร และการสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิ 2. มาตรฐานงาน และระบบงาน: มาตรฐาน HCA, มาตรฐานงานย่อย ด้านต่างๆ เช่น มาตรฐานสุขศึกษา, มาตรฐานงาน IC - วัดกระบวนการบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานงาน และผลผลิต ผลลัพธ์งานตามเป้าหมายที่ต้องการให้บรรลุ - ผลการประเมิน = นำไปใช้ในการกำกับ ควบคุมคุณภาพของ กิจกรรมหรือขั้นตอนบริการในแต่ละส่วน 3. มาตรฐานระบบประกันคุณภาพและคุณภาพทั้งองค์กร: PCA เป็นมาตรฐานที่เชื่อมโยงระหว่างปัจจัยนำเข้า กระบวนการบริการ รวมทั้งการบริหารจัดการที่ประกันว่า “จะทำให้เกิดการจัดการที่ ส่งผลให้งานมีคุณภาพอย่างยั่งยืน ทั่วถึง เป็นระบบทั่วทั้งองค์กร
2) เกณฑ์ตามนโยบายของกระทรวง สธ. การพัฒนาศักยภาพสถานีอนามัยเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)
รพ.สต. หมายถึง... หน่วยบริการสุขภาพระดับตำบล - ที่ได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพ (บุคลากรและทรัพยากร) เพียงพอพร้อมใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ, ป้องกันโรค และรักษาพยาบาลอย่างสมดุล - มีประชากรในพื้นที่รับผิดชอบชัดเจน - สามารถสร้างความร่วมมือ อสม./ ท้องถิ่น/ ชุมชน ในการพึ่งตนเองทางสุขภาพของชุมชน - มีระบบสนับสนุนจาก CUP และ สสจ.อย่างเข้มแข็ง รพ.สต.เป็นมากกว่า PCU ทั่วไป
คุณลักษณะบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ (ทั่วไป) 1 การเข้าถึงบริการ 2 การดูแลต่อเนื่อง 3 ดูแลแบบองค์รวมผสมผสาน 4 การประสานบริการ 5 ยึดชุมชนเป็นฐาน
การเข้าถึงบริการ สะดวก ง่าย ใกล้บ้าน ไม่มีอุปสรรค ติดต่อผ่านโทรศัพท์ 1 สะดวก ง่าย ใกล้บ้าน ไม่มีอุปสรรค 2 3 ติดต่อผ่านโทรศัพท์
การดูแลต่อเนื่อง มีหมอประจำครอบครัว ดูแลทั้งป่วยและไม่ป่วยต่อเนื่อง 1 มีหมอประจำครอบครัว ดูแลทั้งป่วยและไม่ป่วยต่อเนื่อง 2 3 ข้อมูลครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
ดูแลแบบองค์รวมผสมผสาน 1 ครอบคลุม กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ครบถ้วน ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู 2
การประสานบริการ อสม./ จนท. เป็น“เจ้าของไข้” 1 อสม./ จนท. เป็น“เจ้าของไข้” 2 ส่งต่อ - รับกลับ แบบเอื้ออาทร 3 การแพทย์ฉุกเฉินมีประสิทธิภาพ
ยึดชุมชนเป็นฐาน มีข้อมูลชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ 1 มีข้อมูลชุมชน 2 ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ กองทุนสุขภาพเข้มแข็ง 3
คุณลักษณะของ รพ.สต. 1 ขอบเขตการดำเนินงาน พื้นที่ทำงาน 2 พื้นที่ทำงาน 3 บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน 4 การบริหารจัดการ 5 ระบบสนับสนุน ชัดเจน เป็นรูปธรรม
ขอบเขตการดำเนินงาน การดำเนินเชิงรุก บริการตลอด 24 ชม. - มุ่งเข้าหาประชาชน/ชุมชน - มุ่งจัดการกับปัจจัยเสี่ยงที่เป็นต้นเหตุปัญหา 1 บริการตลอด 24 ชม. ปรึกษา/ ส่งต่อได้ตลอดเวลา พร้อมประสานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 2 3 มีความเชื่อมโยง และมีส่วนร่วม ทีมสหวิชาชีพร่วมให้บริการในรายที่จำเป็น ชุมชน/ ท้องถิ่น/ อสม.มีส่วนร่วมดำเนินงาน
พื้นที่ทำการ มีเขตพื้นที่รับผิดชอบชัดเจน ถือว่าพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 1 มีเขตพื้นที่รับผิดชอบชัดเจน ถือว่าพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด เป็น “พื้นที่สำนักงาน” , “บ้านเป็น ward” 2
บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน 1 มีความรู้/ ทักษะในการให้บริการผสมผสาน + มีทักษะเพิ่มเติมเฉพาะด้าน 2 มีศักยภาพในการบริหารจัดการและการทำงาน เป็นทีม 3 มีศักยภาพในการบริหารทำงานเชิงรุกร่วมกับ อสม. 4 มีศักยภาพในการใช้และจัดการระบบข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ 8 คน
การบริหารจัดการ เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน / ชุมชน / อปท./ หน่วยงานภาครัฐอื่นในชุมชน/ เอกชน ในการสนับสนุน กำกับดูแล และรู้สึกเป็น เจ้าของ 8 คน
ระบบสนับสนุนจาก รพ.พี่เลี้ยง 1 ระบบข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ระบบการปรึกษา รพ.พี่เลี้ยงตลอดเวลา 3 ระบบเวชภัณฑ์และเวชภัณฑ์มิใช่ยาที่ สอดคล้องกับ รพ.พี่เลี้ยง
ทิศทาง/เป้าหมาย การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ ปี 2553 การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ ปี 2553
ทิศทางการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ ใช้เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพเป็นเครื่องมือ = PCA , HCA 2. ใช้กรอบแนวคิดการพัฒนา รพ.สต. ตามนโยบายกระทรวง สธ. เป็นแนวทาง
เป้าหมายการพัฒนา ปี 2553 รพ.สต. PCU ทั่วไป เกณฑ์การประเมิน รพ.สต. เกณฑ์มาตรฐาน HCA , PCA รพ.สต. PCU ทั่วไป
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง (ปี 2553) PCA - หน่วยบริการปฐมภูมิในสังกัด มีการเรียนรู้ เข้าสู่กระบวนการ PCA (เป้าหมาย = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) - หน่วยบริการปฐมภูมิที่เข้าสู่กระบวนการฯ มีผลการประเมินตนเองในหมวด P, หมวด 3 และหมวด 6 (เป้าหมาย = ร้อยละ 20)
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง (ปี 2553) รพ.สต. - ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านการประเมิน ตามเกณฑ์ประเมิน รพ.สต. (22 ข้อ) ระดับ “ดี”, “ดีมาก” และ “ดีเยี่ยม” (ไม่ได้กำหนดค่าเป้าหมายในแต่ละระดับ)
เกณฑ์ประเมิน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2553
1.รพสต.มีสมรรถนะ บุคลากร : ประชากร ( 1: 1250 ) NP. (1: 5,000) บุคลากร : ประชากร ( 1: 1250 ) NP. (1: 5,000) ทีมงานมีขวัญกำลังใจ ทีมงานเรียนรู้ต่อเนื่อง สื่อสารมีประสิทธิภาพ (โทร, webcam) ข้อมูลประชาชนทันสมัย ทีมงานเรียนรู้ SRM. ทีมสหวิชาชีพเป็นพี่เลี้ยง
2. รพสต.มีระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพ งานเชิงรุก “ใช้บ้านเป็นที่ทำงาน” ประสาน “ส่งต่อแบบเอื้ออาทร” หนุนเสริมการสร้างนวัตกรรม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาระบบสื่อสาธารณะ
กองทุนสุขภาพเข้มแข็ง องค์กรต่างๆ ร่วมเป็นเจ้าภาพ 3.ภาคีร่วมขับเคลื่อน อปท,มูลนิธิ,ชมรม “ร่วมหัวจมท้าย” กองทุนสุขภาพเข้มแข็ง องค์กรต่างๆ ร่วมเป็นเจ้าภาพ อสม.ร่วมงาน “แข็งขันดุจญาติมิตร” มีโรงเรียน อสม.
ชุมชนกำหนดมาตรการทางสังคม ชุมชนทำแผนเอง 4.ชุมชนเข้มแข็ง สร้างแกนนำชุมชนเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพ ชุมชนกำหนดมาตรการทางสังคม ชุมชนทำแผนเอง
การประเมิน ประเมินตนเอง, อำเภอ, จังหวัด ประเมินตนเอง, อำเภอ, จังหวัด ผ่าน 14 องค์ประกอบ = ระดับ “ดี” เพิ่ม “มีแกนนำเฝ้าระวังปัญหา” = ระดับ “ดีมาก” เพิ่ม “ชุมชนเข้มแข็ง” ทุกข้อ = ระดับ “ดีเยี่ยม”
แนวทางดำเนินการ เพื่อบรรลุสู่เป้าหมาย
PCU รพ.สต. 1. ชัดเจนในเป้าหมาย 1 สอ.เดี่ยว 2 สอ.มารวมกัน 3 สอ.มารวมกัน 10,000 คน 1 สอ.เดี่ยว PCU รพ.สต. 2 สอ.มารวมกัน 3 สอ.มารวมกัน แผนแม่บทการพัฒนาบริการปฐมภูมิ
2. บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ส่วนของ PCA 1. ทำความเข้าใจกับ QRT อำเภอ และ จนท. ใน หน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อเรียนรู้กระบวนการ พัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ โดยใช้ PCA เป็น เครื่องมือ 2. พัฒนาเครื่องมือประเมินตนเอง เครื่องมือ การเรียนรู้ ระบบสนับสนุนต่างๆ
2. บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ส่วนของ รพ.สต. 1 จัดการปัจจัยนำเข้า ให้มีและพร้อมใช้ 2 จัดระบบสนับสนุนให้มีประสิทธิภาพ 3 พัฒนากระบวนการจัดบริการให้มีคุณภาพ
2. บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 2.1 จัดการปัจจัยนำเข้า ให้มีและพร้อมใช้ 1) กำลังคน - ปริมาณ : หาส่วนขาด จัดหา รักษาไว้ (แผนกำลังคน) - คุณภาพ : กำหนดประเด็นความรู้ ทักษะของ บุคลากรใน PCU / รพ.สต. พัฒนา (แผนพัฒนาบุคลากร) 2) สถานที่/เครื่องมือ อุปกรณ์/ยานพาหนะ ฯลฯ (แผนงบลงทุน)
2. บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ (ต่อ) 2.2 จัดระบบสนับสนุนให้มีประสิทธิภาพ 1) ระบบข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยี สารสนเทศ - แฟ้มครอบครัว / แฟ้มชุมชน / ทะเบียน รายชื่อกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ฯลฯ 2) ระบบการให้คำปรึกษา - web cam 3) ระบบการส่งต่อ - การจัดช่องทางด่วนรองรับการส่งต่อ - การประสาน EMS เพื่อส่งต่อกรณีฉุกเฉิน
2. บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ (ต่อ) 4) ระบบเวชภัณฑ์และเวชภัณฑ์มิใช่ยาที่ สอดคล้องกับ รพ.แม่ข่าย - มีรายการยาที่ PCU / รพ.สต. จ่ายได้ ตามมาตรฐานการให้บริการ (CPG) 5) การประสานภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม (แผนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ)
2. บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 2.3 พัฒนากระบวนการจัดบริการให้มีคุณภาพ 1) จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย - สำรวจ ค้นหา คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย (อสม./จนท.) - คัดแยกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดบริการให้สอดคล้องตามความจำเป็นในการให้บริการ 2) บริการเชิงรุก - บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ตามเกณฑ์มาตรฐานของแต่ละกลุ่ม - “ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน” เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะราย
2. บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 3) บริการเชิงรับที่ รพ.สต. - บริการรักษา โดยมีพี่เลี้ยง(รพ.แม่ข่าย)คอยให้คำปรึกษาได้ทุกเวลา - บริการตามมาตรฐานการให้บริการ(CPG) - เพิ่มบริการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังและบริการอื่นๆ เช่น บริการทันตกรรม, แพทย์แผนไทย (แผนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ)
“ดี” “ดีมาก” “ดีเยี่ยม” 3. กำหนดเกณฑ์เป้าหมาย วัดความสำเร็จให้ชัด 2.1 เป้าหมายตามเกณฑ์ประเมิน รพ.สต. “ดี” “ดีมาก” “ดีเยี่ยม” 2.2 เป้าหมายผลผลิต ผลลัพธ์ของโครงการ พัฒนา รพ.สต. 2.3 เป้าหมายตามเกณฑ์มาตรฐานระบบคุณภาพ (HCA, PCA)
ตัวชี้วัดโครงการ รพ.สต. 1. มีสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้พร้อมให้บริการ 2. มีกำลังคนตามเกณฑ์ที่ กสธ./ สปสช. กำหนด 3. อัตราส่วนการใช้บริการที่ รพ.สต. (OP Visit) เทียบกับ รพ.แม่ข่าย เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 4. ผู้ใช้บริการที่ รพ.สต.มีระดับความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 5. ผู้ป่วย (เรื้อรัง/ ฉุกเฉิน/ ทันตกรรม) ได้รับการ ส่งต่อที่เหมาะสม ถูกต้องตามแนวปฏิบัติ
เพื่อความสุขของทุกคน ความสบาย ความสำราญ ความปราศจากโรค
สวัสดี