ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข http://www.prachyanun.com prachyanunn@hotmail.com ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

Getting Started with e-Learning
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
DAONAPA SUYANON LIBRARIAN Learning Resources and Educational Media Center Mae Fah Luang University DAONAPA SUYANON LIBRARIAN Learning Resources and Educational.
ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (ศสท.)
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2555
Work From Anywhere To University
S T A N G M O N G K O L S U K L I B R A R Y งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฐานข้อมูลทางวิชาการ.
รูปแบบและแนวคิดสารสนเทศกับระบบการศึกษา
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล Project Euclid Project Euclid สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี
รู้จัก LMS รู้จักและใช้ MOODLE เป็น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
ระบบการเรียนการสอนแบบ LCMS Learning Content Management System ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
การเขียนบทความทางวิชาการ
การพัฒนาเศรษฐกิจเทคโนโลยี
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
กรณีศึกษา Gotoknow.org การจัดการความรู้ด้วย Weblog
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
บทบาทและปัญหา เทคโนโลยีในประเทศไทย Roles and Problems of Technology in Thailand ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข การพัฒนาการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
โครงการจัดสัมมนาวิชาการ
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
กลยุทธ์การสื่อสารในยุคดิจิตอล ตอน การประยุกต์ใช้สื่อประสมบนเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารในยุคดิจิตอล ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Y
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น. เวลาทำการ A-FAR วันจันทร์ - ศุกร์ น. วันเสาร์ - อาทิตย์ น. U-FAR วันจันทร์ - ศุกร์
ความก้าวหน้าเทคโนโลยีของไทย
ฐานข้อมูล Science Direct
เทคนิคการค้นหาและรวบรวมข้อมูล สำหรับงานวิจัยชั้นเรียน
แนะนำการสืบค้นข้อมูล
บริการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์ 2552
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลเพื่อทำวิทยานิพนธ์ ให้ประสบความสำเร็จ
อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน.  ในประเทศ  เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
แหล่งเรียนรู้และ เครือข่ายการเรียนรู้ Sumai Binbai Phranakhon Rajabhat University Sumai Binbai Phranakhon Rajabhat University.
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข http://www.prachyanun.com prachyanunn@hotmail.com ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข http://www.prachyanun.com prachyanunn@hotmail.com

ห้องสมุดเสมือน(Virtual Library) ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-Library :Electronic Library ห้องสมุดดิจิตอล Digital Library ห้องสมุดผสม Hybrid Library ห้องสมุดเสมือน Virtual Library

ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-Library) ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึงแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library) ห้องสมุดดิจิตอลเกิดขึ้นจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ข้อมูล ที่เคยอยู่ในรูปสิ่งพิมพ์ที่จัดเก็บไว้ให้บริการในอาคารห้องสมุด เปลี่ยนรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น เราเรียกข้อมูลที่จัดเก็บนั้นว่า ข้อมูลดิจิตอล เช่น E-Book, E-Journal, E-Paper ฯลฯ

ห้องสมุดประสมHybrid Library

ห้องสมุดเสมือน Virtual Library ห้องสมุดเสมือนหมายถึง แหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการจัดการอย่างมีระบบและให้บริการค้นคืนสารสนเทศแบบออนไลน์ในระบบเครือข่าย โดยที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงระยะไกลมายังห้องสมุดเพื่อสืบค้นและใช้สารสนเทศของห้องสมุดหรือเชื่อมโยงกับแหล่งสารสนเทศอื่นได้ทุกที่ในระบบเครือข่าย เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

การเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ตผ่านห้องสมุดเสมือน การอ่านหนังสือในห้องสมุด (E-book, E-Journal, หนังสือพิมพ์ ฯลฯ) การค้นหาข้อมูลและเอกสารทางสาธารณสุข การสืบค้นข้อมูล (Search Engine) การค้นคว้างานวิจัย (E-Research) การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

เว็บฐานข้อมูลการวิจัยในประเทศไทย สภาการศึกษา http://www.thaiedresearch.org/ http://www.thaiedresearch.org/result/index.htm http://www.nstda.or.th/grants/ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ สำนักวิทยบริการ/หอสมุดกลางมหาวิทยาลัยต่าง ๆ

เว็บฐานข้อมูลวิจัยในต่างประเทศ UMI http://wwwlib.umi.com/dissertations/search DAO/Wilson/ Library Online ERIC ฯลฯ

ห้องสมุดออนไลน์

http://www.stkc.go.th/library.php

ห้องสมุดทางด้านสาธารณสุข

http://www.moph.go.th/ops/general/lib/search.php

http://www.dmsc.moph.go.th/net/lib/p.htm

http://library.hsri.or.th/th/index.php

กรอกคำสำคัญในช่องค้นหา http://www.hric.or.th/hric/index.html กรอกคำสำคัญในช่องค้นหา

http://elib.fda.moph.go.th/library/

กลุ่มงานวิจัย สำนักงานอาหารและยา

คลิกเลือกเอกสารงานวิจัย

เอกสาร PDF ไฟล์

http://www.tcu.uni.net.th/tcu/webpage/tcu_thai/library.asp

การสืบค้นข้อมูลและงานวิจัย Search Engine Google Sansarn เว็บฐานข้อมูลวิจัย เว็บฐานข้อมูลวิจัยมหาวิทยาลัย เว็บสืบค้นวิจัยต่างประเทศ สิ่งพิมพ์ข้อมูลและวิทยานิพนธ์ E-Book/E-Research

google

sansarn

คำถาม ??? ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ผ่านอินเทอร์เน็ต คำถาม ??? ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ผ่านอินเทอร์เน็ต

Guest Lecturer Prachyanun Nilsook, Ph.D. Ph.D. Educational and Communications Technology prachyanunn@kmitnb.ac.th http//www.prachyanun.com 081-7037515 KMITNB