แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

Getting Started with e-Learning
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน : Cyber University
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
ระบบการจัดการข้อร้องเรียนในห้องสมุดComplaints Management System in Library ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
แนวทางการพัฒนา e-Learning เพื่อการศึกษา ยุค e-Learning 2.0
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข การพัฒนาการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
Content Management System with Joomla
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เทคโนโลยีเพื่อการจัดการ ความรู้ : กรณีศึกษา ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร.
โครงการจัดสัมมนาวิชาการ
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
สถาบันพระบรมราชชนกและวิทยาลัยในสังกัด ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงเรมชลอินเตอร์
IC เพื่อการประชาสัมพันธ์
LOGO IT เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ Public Relation 2.0 (PR 2.0) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
การวิเคราะห์เนื้อหา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
ความหมายของวิทยาศาสตร์
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
การลงข้อมูลแผนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
LOGO ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Open Source.
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
ADDIE Model.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบการเรียนทางไกลแบบสองทางพร้อมสื่อประสมผ่านดาวเทียม เรื่อง Computer.
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com

E-Learning ??? e-Learning หมายถึง กระบวนการและการใช้ประโยชน์จากการเรียนการสอนผ่านเว็บ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห้องเรียนเสมือน และการเรียนร่วมมือด้วยเครื่องมือดิจิตอลต่าง ๆ รวมถึงการเรียนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต,ระบบอินทราเน็ต ระบบเครือข่าย การเรียนด้วยระบบเสียง ระบบภาพ ระบบดาวเทียม ระบบโทรทัศน์ และซีดีรอม e-Learning หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต หรือการใช้ความสามารถของระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ e-Learning หมายถึง การบูรณาการทางการศึกษาที่ไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้ e-Learning หมายถึง การจัดกระบวนการและการใช้ประโยชน์จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และระบบอินเทอร์เน็ต ที่ออกแบบการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้

E-Learning (Khan, 2007)

E-Learning Framework Pedagogical Technological Interface Design Evaluation Management Resource Support Ethical Institutional

E-Learning P3 Model (Khan,2004) People Process Product

P3 Model

CAPEODL

http://premierstrategics.com/elearning.html

ADDIE Analysis Design Development Implementation Evaluation

ADDIE

Dick and Carry (1996)

ID Model Keller 2003

Kemp (1994)

MIAP / CIP MIAP (KMUTNB) Computer Instructional Package Motivation Information Application Progress Computer Instructional Package 16 ขั้นตอน (KMUTT) รศ.ไพโรจน์ ตีรธณสาร และ รศ.ดร.ไพบูลย์ เกียรติโกมล

การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis) 1. สร้างแผนภูมิระดมสมอง(Brain Storm Chart) 2. สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์(Concept Chart) 3. สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา(Content Network Chart) ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ Input Unit CPU Memory Output Unit Mouse Microphone Joystick Scanner Keyboard Digital Camera ALU CU Main Memory Secondary RAM ROM Floppy Disk Hard Disk CD ROM DVD ROM Tape Monitor Printer Plotter Speaker Projector

การวิเคราะห์เนื้อหา(Analysis) สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา(Content Network Chart) 13 15 14 ALU CU 29 30 Output Unit 12 16 CPU Memory 11 37 31 32 33 35 36 34 Monitor Printer Speaker Plotter Projector Digital Camera 4 5 6 7 8 9 10 Keyboard Mouse Scanner Joystick Microphone Floppy Disk Hard Disk 17 19 23 18 22 20 21 24 25 26 27 28 Main Memory Secondary Memory Ram Rom CD Rom DVD Rom Tape 2 Input Unit 3

การออกแบบบทเรียน(Design) 4. กำหนดกลวิธีการนำเสนอและวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม(Strategic Presentation Plan And Behavior Objective) 5. สร้างแผนภูมิการนำเสนอในแต่ละหน่วย (Module Presentation Chart)

การพัฒนาบทเรียน (Development) 6. เขียนรายละเอียดเนื้อหา(Script Development) 7. จัดทำลำดับเนื้อหา(Story Board Development) 8. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา (Content Correctness) 9. สร้างแบบทดสอบส่วนต่างๆ

การนำเสนอบทเรียน (Implementation) 10. เลือกโปรแกรมในการจัดทำบทเรียน 11. จัดเตรียมสื่อที่จำเป็นต้องใช้ประกอบใน แต่ละเฟรมของการนำเสนอ 12. สร้างบทเรียนโดยนำทรัพยากรที่เตรียมไว้แล้ว มาสร้าง ตามที่ได้ออกแบบไว้

การประเมินผล (Evaluation) 13. ตรวจสอบคุณภาพของ e-Learning 14. ทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่าง 15. ทำการทดสอบหาประสิทธิภาพ(E1/E2) 16. จัดทำคู่มือการใช้งาน (User Manual)

Theories Behaviorism Cognitivism Constructivism Constructionism ????? Learning Process Learning Style

Learning Strategies Collaborative /Co-operative Blended Learning Inquiry Learning Problem-based Learning Project-based Learning Nine Events of Instruction ฯลฯ

Gagne’

Human Performance Technology (HPT) Gap Analysis Performance Analysis (Need or Opportunity) Organization Analysis Environmental Analysis Actual State of Workforce Performance Desired Workforce Performance Cause Analysis Intervention Selection, Design, and Development Intervention Implementation and Change Evaluation

สรุป : แนวคิดการพัฒนา e-Learning e-Learning Frame ADDIE Theories Learning Strategies HPT

Q&A ขอบคุณครับ prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com 081-7037515