สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

สื่อประกอบการเรียนรู้
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
อายุเฉลี่ยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของนักเรียนอาชีวศึกษาชั้น ปวช
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
การเรียนรู้เรื่องเพศ
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ภญ.ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล ภม, ภบ. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาความเข้มแข็ง แผนงานควบคุมโรค
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
Reproductive Health for PHA
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
ระบบการส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดตราด
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Group Learning HIVQUAL-T Forum
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี. แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
พิธีเปิดโครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพการป้องกันและ ควบคุมวัณโรค จังหวัด ร้อยเอ็ด ปี 2552 วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน 2551 ณ เรือนจำจังหวัดร้อยเอ็ด.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
สาระสำคัญ การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์เป็นความรับผิดชอบของทั้งผู้หญิงและชาย การเรียนรู้เรื่องการป้องกันมีทั้งแง่ดีและแง่ไม่ดี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
เก็บตก ประเด็น HOT.
การปฏิบัติตนของวัยรุ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี วิธีคุมกำเนิด สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี

ผู้ติดเชื้อเอชไอวี 1. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่ยังไม่มีอาการ (ไม่ต้องรับประทานยาต้านไวรัส รักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส หรือวัณโรค CD4 > 200) 2. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรักษาด้วยยาต้านไวรัสได้ผลดี 3. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรับประทานยารักษา โรคติดเชื้อฉวยโอกาส 4. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรับประทานยารักษาวัณโรค 5. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรับประทานยาต้านไวรัส ยารักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส หรือวัณโรค

1. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่ยังไม่มีอาการ (ไม่ต้องรับประทานยาต้านไวรัส ยารักษาโรคติดเชื้อฉวย โอกาส หรือวัณโรค) ( CD4 > 200) วิธีคุมกำเนิด ใช้วิธีคุมกำเนิดที่มีฮอร์โมนได้ทุกวิธีไม่มีข้อห้าม ใส่ห่วงอนามัยได้(ใหม่ และใส่ต่อไปได้กรณีที่ใส่มาก่อน) ทำหมันชาย/หญิงได้ Please ! ใช้ถุงยางอนามัยควบคู่ด้วยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการใช้ฮอร์โมนกับการติดเชื้อเอชไอวี เพิ่มโอกาสติดเชื้อ ที่ปากมดลูก เนื่องจากการยื่นออกของเยื่อบุปากมดลูก ออกมาจากฤทธิ์ของฮอร์โมนเอสโตรเจน 2. เพิ่มการหลุดของเชื้อ เอชไอวี ทำให้โอกาสการติดเชื้อของคู่เพิ่มขึ้น

2. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรักษาด้วยยาต้านไวรัส AZT,ddI,3TC,ABC,TDF Enfurvitide Delaviridine ใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด ยาฝังคุมกำเนิดได้โดยปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ Please ! Pill ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด Injectable Implant ยาฝังคุมกำเนิด ใช้ถุงยางอนามัยควบคู่ด้วยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์

2. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรักษาด้วยยาต้านไวรัส Pill ยาเม็ดคุมกำเนิด NVP,Efavirenz Atazanavir Indinavir Lopinavir Nelfinavir Ritonavir Saquinavir ไม่แนะนำใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด แต่ สามารถใช้ยาฉีดคุมกำเนิดและ ยาฝังคุมกำเนิด ได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ Please ! แนะนำให้ฉีดยาคุมกำเนิดให้ตรงเวลาอย่าเลยกำหนด ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์

2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่กำลังรักษาด้วยยาต้านไวรัส ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฉุกเฉิน ใช้ได้แต่ไม่ควรใช้บ่อย ห่วงอนามัย ใช้ได้ถ้าการรักษาได้ผล (ทั้งใส่ใหม่ และใส่ต่อไปได้กรณีที่ใส่มาก่อน) ทำหมันทั้งชาย/หญิง ใช้ได้ Please ! Intra Uterine Device วิธีคุมกำเนิดฉุกเฉิน ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์

3. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรับประทานยารักษา โรคติดเชื้อฉวยโอกาส - โรคติดเชื้อแคนดิดา(Candidiasis) ที่ได้รับยา Fluconazole,Ketoconazole และ Itraconazole โรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส(Pneumocytis pneumonia or PCP) โรคติดเชื้อคริปโตคอคคัส(Cryptococcosis) ที่ได้รับยา Fluconazole โรคติดเชื้อ เพนนิซิเลี่ยมและฮิสโตพลาสมา(Penicillium and Histoplasmosis ที่ได้รับยา Itraconazole โรคสมองอักเสบจากเชื้อ ท๊อกโซพลาสมา(Toxoplasmic encephalitis) โรคติดเชื้อ Mycobacterium avium complex (MAC) ที่ได้รับยาClarithomycin

3. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรับประทานยารักษา โรคติดเชื้อฉวยโอกาส (ต่อ) ไม่แนะนำให้ใช้ ยาเม็ดคุมกำเนิด Pill ยาเม็ดคุมกำเนิด

สามารถใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดได้ 3. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่กำลังรับประทานยารักษา โรคติดเชื้อฉวยโอกาส โรคติดเชื้อ Mycobacterium avium complex (MAC) ที่ได้รับยา Ciprofloxacin สามารถใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดได้ Pill ยาเม็ดคุมกำเนิด

4. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่กำลังรับประทานยารักษาวัณโรค ไม่แนะนำให้ใช้ ยาเม็ดคุมกำเนิด Pill ยาเม็ดคุมกำเนิด

5. ผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่กำลังรับประทานยาต้านไวรัส ยารักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส หรือ วัณโรค ยาเม็ดคุมกำเนิด ไม่แนะนำให้ใช้ Pill ยาเม็ดคุมกำเนิด

6. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีอาการแต่ไม่ได้รักษาด้วยยาต้านไวรัส ห่วงอนามัย : ไม่แนะนำให้ใส่ห่วงอนามัยใหม่ หากใส่อยู่ก่อน สามารถใส่ต่อไปได้ไม่ต้องถอดออก

ทีมพัฒนาแนวทางการให้บริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี ขอขอบคุณ ทีมพัฒนาแนวทางการให้บริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี แพทย์หญิง นันทา อ่วมกุล ผู้อำนวยการสำนักที่ปรึกษา นพ. สัญญา ภัทราชัย * * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ภญ.ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล ภม, ภบ. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ขอขอบคุณ ที่ปรึกษาโครงการ 1. นายแพทย์ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดี กรมอนามัย 2. รศ. แพทย์หญิงอรวรรณ คีรีวัฒน์ ที่ปรึกษาอาวุโสศูนย์วิจัยการอนามัยเจริญพันธุ์และวางแผนครอบครัว คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3. นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดี กรมอนามัย ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย

ขอขอบคุณ คณะทำงาน 1. สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย 2. สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 3. กองอนามัยเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 4. สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 5. สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค 6. ศูนย์ความร่วมมือไทย สหรัฐ ด้านสาธารณสุข 7. ที่ปรึกษาพันธมิตรสาธารณสุข 8. มูลนิธิรักษ์ไทย 9. มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์ 10. ศูนย์ประสานงานเครือข่ายผู้หญิงติดเชื้อ