ประชุมกรรมการบริหารศูนย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในโรงเรียน
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ประชุมคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดลำปาง (ก.บ.จ.)
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
3 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 NPP &Central Procurement (15.17) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) P&P Area based.
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
การเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การประชุม พิจารณาแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยาฯ ปี 2557 ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 24 กันยายน
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
กรมควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็น คนไทยสุขภาพดี นโยบายการจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค 1 นายแพทย์มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค.
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมกรรมการบริหารศูนย์ 11 ตุลาคม 2553

วาระการประชุม แจ้งให้ทราบ รับรองรายงานการประชุม งบ สปสช.ปี 2554 การจัดทำแผนงบประมาณ และแผนเงินบำรุง รับรองรายงานการประชุม นำเสนอโครงการที่เป็นจุดเน้นของของกรมอนามัย (นำเสนอในที่ประชุมคราวหน้า) แผนก่อสร้างอาคารของโรงพยาบาล (Death line พ.ย.53 แบบต้องเสร็จ พร้อมวงเงิน)

กรอบการบริหารงบ P&P ปีงบประมาณ 2553 P&P Capitation (199.22 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 64.446 ล้านคน) คำนวณจาก 271.79 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.2397 ล้านคน NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) P&P Expressed demand (125.64) Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) Area problem (18.41+ ส่วนที่เหลือจากกองทุนตำบล) กองทุน อปท. (40.00) Diff. by age group หักเงินเดือน หน่วยบริการ/ สถานพยาบาล/ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยบริการประจำ

สีแดง หมายถึงงบปีที่แล้ว 199.22 125.64 15.17 93.85 31.79

ในส่วนของ 18.41 บาทนั้น สสจ. 15.00 บาท สสจ. 15.00 บาท ผู้ตรวจ 2.50 บาท (ให้แก้ไขปัญหา Teenage + NCD 0.5 บาท) สปสช. 0.91 บาท ข้อเสนอของคณะทำงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับเขต 5 ราชบุรี ที่จะนำเสนอ คปสข.เพื่อขอความเห็นชอบต่อไป

กองทุนทันตกรรม (ทั้งรักษา ป้องกัน)

แผนงบประมาณ ของศูนย์ ประมาณการเงินจัดสรร 14 ล้านบาท (เท่าปีที่แล้ว ถ้าจำเป็นอยากได้มากกว่านั้นให้เขียนขอ อธิบดี โดยตรง) งบรายจ่ายพื้นฐาน 9 ล้าน งบตอบสนองโครงการเน้นหนักของกรม 0.8 ล้านบาท (ลดจากเดิม 0.2 ล้าน) งบประชุม อบรม ดูงาน 0.8 ล้านบาท (ลดจากเดิม 0.2 ล้าน เนื่องจากมีงบ IDP ) งบพัฒนา Competency (IDP) 2,000 บาท/หัว ขรก. 0.3 ล้านบาท งบพัฒนาจริยธรรม/ความผาสุกตาม PMQA หมวด 5 = 0.1 ล้าน งบจัดสรรให้โครงการที่เหลือเพื่อดำเนินการตามภารกิจ 3.0 ล้าน (เพิ่มจากเดิม 0.4 ล้าน) วันที่ 18 จะประชุมเพื่อชี้แจงโครงการ ส่งโครงการให้กรมภายใน 31 ต.ค.53

สรุปเกี่ยวกับเรื่องแผนงบประมาณ/เงินบำรุง ที่ประชุมเห็นชอบงบประมาณ ที่มีการปรับปรุงหลังสุด จะประชุมนำเสนอโครงการในวันที่ 18 ตุลาคม 2553 ให้ ยผ. ส่ง Format การเขียนโครงการ ให้กับทุกฝ่าย/กลุ่มงาน และจัดตารางเวลาของการนำเสนอของ แผนงานต่างๆ ให้แต่ละกลุ่มงาน/แผนงาน ส่งรายชื่อผู้ที่จะมาเป็นตัวแทน เพื่อที่จะมาช่วยพิมพ์แผนเข้าโปรแกรมของกรมฯต่อไป โดยจะเริ่มดำเนินการในวันที่ 20 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป จนกว่าจะแล้วเสร็จ ให้จัดทำแผนเงินบำรุง โดยแผนเงินบำรุง จะประมาณการรายรับเท่ารายจ่าย คือประมาณ 35 ล้าน โดยให้ส่งตัวแทนของฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการใช้เงินบำรุง มาทำแผน (หลังทำแผนงบประมาณเสร็จ ประมาณวันที่ 26 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป)

ข้อเสนอแนะ การทำแผนงบประมาณ 2554 โครงการที่เป็นโครงการเน้นหนักของกรมอนามัย ถ้าเป็นโครงการที่แก้ปัญหาในพื้นที่ของเขต น่าจะนำโครงการดังกล่าวไปใช้งบของ สปสช.ในส่วนของผู้ตรวจราชการ (2.50 บาท/หัว) ถ้ามีเงินเหลือจากงบ สปสช. ในปีก่อนหน้าให้ใช้งบของ สปสช.ก่อน ปัจจุบัน ท้องถิ่นได้จัดสรร งบ PP Area based ลงไปยังพื้นที่ 40 บาท/หัวประชากร โดยท้องถิ่นจะต้องสมทบเงินประมาณ 20 % (8 บาท/หัวประชากร) รวมเป็น 48 บาท/หัวประชากร ถ้าเพิ่มศักยภาพให้ท้องถิ่นในการสามารถนำเงินกองทุนดังกล่าวมาใช้ได้แล้ว จะทำให้การส่งเสริม ป้องกัน เป็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำแผนงบประมาณ ควรเน้นทั้ง 6 Key Functions โดยเฉพาะ Surveillance เพื่อให้ทราบสถานการณ์ M&E เพื่อดูผลการดำเนินการ และพัฒนารูปแบบ (R&D) เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาในพื้นที่ พัฒนามาตรฐานและประเมินตามมาตรฐาน (Consumer Protection) และประสานแหล่งทุนที่มีอยู่ในพื้นที่ (Funder alliance) เพื่อนำทุนไปก่อเกิดประโยชน์สูงสุดในด้านการส่งเสริมส ป้องกัน ส่วนในเรื่อง Provider support นั้น ควรเน้นการ Support เพื่อพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง (Support ระบบมากกว่า Support กิจกรรม) เช่น ระบบ Surveillance ,ระบบ M&E ,ระบบ R&D ,ระบบการประเมินตามมาตรฐาน

สรุปแผนการก่อสร้างอาคารหลังใหม่ การดำเนินการมีข้อจำกัดอยู่ 2 ด้านคือ ด้านระยะเวลา (ต้องให้ได้แบบและวงเงินภายใน พ.ย.53 ) ด้านงบประมาณ (ไม่ควรเกิน 50 ล้าน ± เล็กน้อย ) ให้นัดสถาปนิก และกองแบบแผน เพื่อปรึกษาหารือ และกำหนดทางเลือกภายในอาทิตย์หน้า (18-22 ตุลาคม 2553) ให้ ร.พ.ไปหารือกันว่า ในแต่ละทางเลือกนั้น แต่ละชั้น จะเป็นห้องอะไรบ้าง เพื่อให้ข้อมูลกับสถาปนิก (โดยทางเลือกที่เสนอนั้นให้นำข้อจำกัดในข้อ 1 มาพิจารณาด้วย)