การกระจายอำนาจสู่ อปท.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

โรงเรียนดีประจำตำบล.
ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
แนวคิด ในการดำเนินงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
การกระจายอำนาจทางการคลังแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
การกระจายอำนาจทางการคลังแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาครูและวิชาชีพครู
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การถ่ายโอนถนนให้แก่ อปท. ตามแผนการกระจายอำนาจฯ ระยะทาง 13,810 กิโลเมตร
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระจายอำนาจสู่ อปท. โดย ศ.ดร.อุดม ทุมโฆสิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประธานคณะทำงานจัดทำแผนการถ่ายโอนภารกิจสู่ อปท.

1. ทำไมจึงต้องกระจายอำนาจไปสู่ อปท. 1. ทำไมจึงต้องกระจายอำนาจไปสู่ อปท. 1.1 เหตุผลทางปรัชญาการปกครอง 1.2 เหตุผลทางการบริหารการพัฒนา 1.3 เหตุผลทางกฎหมาย 1

1.1 เหตุผลทางปรัชญาการปกครอง 1.1 เหตุผลทางปรัชญาการปกครอง ศูนย์อำนาจ ทางปกครอง ผู้ใช้อำนาจ รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตย เผด็จการ รวมศูนย์อำนาจ รัฐบาลกลาง ปกครองท้องถิ่น ไร้ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ แต่ไม่พึงประสงค์ กระจาย ท้องถิ่น ปกครองตนเอง และพึงประสงค์ ฉะนั้น  ระบอบการปกครองท้องถิ่นที่ดีต้องเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบกระจายศูนย์อำนาจ 2

1.2 เหตุผลของการบริหารการพัฒนา 1.2 เหตุผลของการบริหารการพัฒนา ศูนย์อำนาจ ทางปกครอง ปัญหา/การพัฒนาระดับชาติ ปัญหา/การพัฒนาระดับท้องถิ่น รวมศูนย์อำนาจ ประสิทธิภาพ ไม่มีประสิทธิภาพ กระจายอำนาจ ฉะนั้น  รัฐบาลควรใช้อำนาจดูแลปัญหา/การพัฒนาระดับชาติ เท่านั้นและต้องให้ท้องถิ่นมีอำนาจดูแลแก้ไขปัญหาของ ตนเอง การบริหารการพัฒนาประเทศจึงจะมีประสิทธิภาพ 3

1.3 เหตุผลทางกฎหมาย กระจายอำนาจ รวมอำนาจ รัฐธรรมนูญ 40, 50  1.3 เหตุผลทางกฎหมาย กระจายอำนาจ รวมอำนาจ รัฐธรรมนูญ 40, 50  พรบ. จัดตั้งฯ พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ฉะนั้น  สรุปได้ว่าต้องกระจายอำนาจ 4

2. กระจายอย่างไร ? 2.1 โดยหลักการ 2.2 โดยกฎหมาย 2.3 โดยการปฏิบัติจริง 2. กระจายอย่างไร ? 2.1 โดยหลักการ 2.2 โดยกฎหมาย 2.3 โดยการปฏิบัติจริง 5

กระจายอย่างไร -โดยหลักการ 1) จัดสรรอำนาจหน้าที่ระหว่างส่วนกลาง/ภูมิภาค/ท้องถิ่นใหม่ - แยกอำนาจส่วนกลางและท้องถิ่นออกจากกันให้ชัดเจน ภารกิจ ฐานะผู้ปฏิบัติ ผู้สนันสนุน การกำกับดูแล 1) ปัญหา/ความสุข/ทุกข์ที่ท้องถิ่น ดูแลได้เอง ท้องถิ่นทำเท่านั้น ส่วนกลาง ศาล/ประชาชน/ส่วนกลาง 2) ปัญหา/การพัฒนาในระดับชาติ(ครอบคลุมทั้งประเทศแบ่งแยกไม่ได้) รัฐบาลกลางเท่านั้น ท้องถิ่น ท้องถิ่น/ประชา-ชน/ ศาล 3) ต้องร่วมมือกันจึงจะได้ผลดี ทั้งรัฐบาลกลาง และท้องถิ่น ประชาชน/ศาล 6

3) ถ่ายโอนภารกิจ/ทรัพยากร/และแก้ไขกฎหมาย เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับอำนาจหน้าที่/บทบาทใหม่ ทั้งส่วนกลาง ท้องถิ่น และประชาชน 3) ถ่ายโอนภารกิจ/ทรัพยากร/และแก้ไขกฎหมาย 4) จัดทำมาตรฐานต่างๆ ขึ้นรองรับ 5) ติดตามประเมินผล 7

กระจายอย่างไร - โดยกฎหมาย 1. พรบ. กำหนดแผนขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 2. แผนปฎิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. ฉบับที่ 1 & 2 3. กลไกด้านโครงสร้าง คณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. 8

กระจายอย่างไร - การปฏิบัติจริง 1. ภารกิจที่ถ่ายโอน 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 87 ภารกิจ 2. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 103 ภารกิจ 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และ การรักษาความสงบเรียบร้อย 17 ภารกิจ 9

6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2 ภารกิจ 4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พานิชยกรรมและการท่องเที่ยว 19 ภารกิจ 5. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 17 ภารกิจ 6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2 ภารกิจ รวม 6 ด้าน 245 ภารกิจ ให้แก่ อปท.76,950 อปท. 2. ระยะเวลาการถ่ายโอน 10 ปี (2548-2553) 10