วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
Smoking Cessation Services in Thailand
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Graduate School Khon Kaen University
หลักการพัฒนา หลักสูตร
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
ของการบริหารความเสี่ยง
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
“ประเมินสมรรถนะ Online”
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การศึกษาความพึงพอใจของ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
การวัดผล (Measurement)
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
การเขียนรายงานการวิจัย
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
กลุ่มที่ 4.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผล โครงการรณรงค์พัฒนาพฤติกรรมผู้บริโภค ของกองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปี 2552

วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย เพื่อประเมินประสิทธิผล 2 โครงการ (มุ่งกลุ่มประชาชนทั่วไป) โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย - การรับรู้ข้อมูลในสื่อ/กิจกรรมที่เผยแพร่ในโครงการฯ - ความสามารถในการแยะแยะลักษณะของข้อความโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อ้างเกินจริง - การดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ (event) 2. โครงการอาหารปลอดภัย - การรับรู้ข้อมูลในสื่อ / กิจกรรมที่เผยแพร่ในโครงการฯ - พฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างถูกต้อง

ขอบเขตของโครงการวิจัย ทั้ง 2 โครงการ 1. ทำการศึกษาในประชาชนที่มีอายุ 18-60 ปี ทั่วประเทศ โดยใช้ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,620 คน 2. ทำการศึกษากิจกรรมและข้อมูลข่าวสารที่ดำเนินงานตาม แผนงานในโครงการ ฯ ปีงบประมาณ 2552 3. ในโครงการอย่าหลงเชื่อง่ายเพิ่มการศึกษาผู้เข้าร่วมกิจกรรม (Event) “อย.พลพรรคฉลาดซื้อ” 5 แห่ง รวมทั้งสิ้น 985 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้ จะทำให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ คือ 1. โครงการอาหารปลอดภัย ทราบประสิทธิผลการดำเนินงานโครงการฯในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย 2. โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย 2.1 ทำให้ทราบถึงการรับรู้ของประชาชนต่อกิจกรรมและข้อมูล ข่าวสารที่เผยแพร่ในโครงการอย่าหลงเชื่อง่าย ปี 2552 2.2 ทำให้ทราบถึงความสามารถของประชาชนในการจำแนก ลักษณะของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โอ้อวดเกินจริง มุ่งนำมาเป็นแนวทางในการวางแผน ปรับปรุงการ ดำเนินโครงการฯ ในปีต่อไปให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้นต่อไป

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย การประเมินกิจกรรม EVENT การรับทราบข่าวกิจกรรม บังเอิญผ่านมา ร้อยละ 51.2 กิจกรรมที่เข้าร่วม การตอบแบบทดสอบความรู้ ร้อยละ 84 ทอล์คโชว์ให้ความรู้ และแสดงคอนเสิร์ต ใกล้เคียงกัน คือร้อยละ 84.2 ประโยชน์ที่ได้รับ ทราบผลร้ายที่เกิดจากการหลงเชื่อโฆษณาหลอกลวง ร้อยละ 28.2

ผลการวิจัย

ผลการวิจัย

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย - กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 87.9 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย แต่มีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเพียงร้อยละ 71.9 ซึ่งแตกต่างกันมาก อาจเนื่องจากมีปัจจัยอื่น ๆ เกี่ยวข้อง เช่น ไม่สามารถหาซื้ออาหารที่ปลอดภัยมีคุณภาพจากบริเวณที่อยู่อาศัย จึงควรส่งเสริมให้มีปัจจัยเอื้อด้านอาหารปลอดภัยให้แพร่หลาย - ควรมีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงปริมาณ เช่น การสัมภาษณ์ หรือการจัดประชุมกลุ่มย่อย ในประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน การประเมินผลของทั้งสองโครงการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ซึ่งงานวิจัย ในเชิงปริมาณไม่สามารถให้ข้อมูลดังกล่าวได้

ขอบคุณค่ะ