การประเมินผล โครงการรณรงค์พัฒนาพฤติกรรมผู้บริโภค ของกองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปี 2552
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย เพื่อประเมินประสิทธิผล 2 โครงการ (มุ่งกลุ่มประชาชนทั่วไป) โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย - การรับรู้ข้อมูลในสื่อ/กิจกรรมที่เผยแพร่ในโครงการฯ - ความสามารถในการแยะแยะลักษณะของข้อความโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อ้างเกินจริง - การดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ (event) 2. โครงการอาหารปลอดภัย - การรับรู้ข้อมูลในสื่อ / กิจกรรมที่เผยแพร่ในโครงการฯ - พฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างถูกต้อง
ขอบเขตของโครงการวิจัย ทั้ง 2 โครงการ 1. ทำการศึกษาในประชาชนที่มีอายุ 18-60 ปี ทั่วประเทศ โดยใช้ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,620 คน 2. ทำการศึกษากิจกรรมและข้อมูลข่าวสารที่ดำเนินงานตาม แผนงานในโครงการ ฯ ปีงบประมาณ 2552 3. ในโครงการอย่าหลงเชื่อง่ายเพิ่มการศึกษาผู้เข้าร่วมกิจกรรม (Event) “อย.พลพรรคฉลาดซื้อ” 5 แห่ง รวมทั้งสิ้น 985 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้ จะทำให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ คือ 1. โครงการอาหารปลอดภัย ทราบประสิทธิผลการดำเนินงานโครงการฯในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย 2. โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย 2.1 ทำให้ทราบถึงการรับรู้ของประชาชนต่อกิจกรรมและข้อมูล ข่าวสารที่เผยแพร่ในโครงการอย่าหลงเชื่อง่าย ปี 2552 2.2 ทำให้ทราบถึงความสามารถของประชาชนในการจำแนก ลักษณะของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โอ้อวดเกินจริง มุ่งนำมาเป็นแนวทางในการวางแผน ปรับปรุงการ ดำเนินโครงการฯ ในปีต่อไปให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้นต่อไป
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย การประเมินกิจกรรม EVENT การรับทราบข่าวกิจกรรม บังเอิญผ่านมา ร้อยละ 51.2 กิจกรรมที่เข้าร่วม การตอบแบบทดสอบความรู้ ร้อยละ 84 ทอล์คโชว์ให้ความรู้ และแสดงคอนเสิร์ต ใกล้เคียงกัน คือร้อยละ 84.2 ประโยชน์ที่ได้รับ ทราบผลร้ายที่เกิดจากการหลงเชื่อโฆษณาหลอกลวง ร้อยละ 28.2
ผลการวิจัย
ผลการวิจัย
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย - กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 87.9 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย แต่มีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเพียงร้อยละ 71.9 ซึ่งแตกต่างกันมาก อาจเนื่องจากมีปัจจัยอื่น ๆ เกี่ยวข้อง เช่น ไม่สามารถหาซื้ออาหารที่ปลอดภัยมีคุณภาพจากบริเวณที่อยู่อาศัย จึงควรส่งเสริมให้มีปัจจัยเอื้อด้านอาหารปลอดภัยให้แพร่หลาย - ควรมีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงปริมาณ เช่น การสัมภาษณ์ หรือการจัดประชุมกลุ่มย่อย ในประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน การประเมินผลของทั้งสองโครงการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ซึ่งงานวิจัย ในเชิงปริมาณไม่สามารถให้ข้อมูลดังกล่าวได้
ขอบคุณค่ะ