ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHER) กรมควบคุมโรค ปี 2554 - 2558.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
จำนวนผู้ใช้ที่ Online กลุ่มสนับสนุน วิชาการ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ หน้าแรก บุคลากรกลุ่มสนับสนุน วิชาการ งานแผนงานและ งบประมาณ งานข้อมูลสารสนเทศ งานข้อมูลสารสนเทศ.
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค และพัฒนาองค์กรด้านการบริหารจัดการ
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การป้องกันและแก้ไขปัญหา ไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สัมมนาวิชาการโรคติดต่อที่ก่อให้เกิดความรุนแรงทางระบาดวิทยา
นโยบายและการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
1. กระบวนการบริหารจัดการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 2. กระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนระบบบริการด้าน การแพทย์และสาธารณสุข 3. กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาระบบบริการด้าน.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHER) กรมควบคุมโรค ปี 2554 - 2558

กลุ่มโรคติดต่ออุบัติใหม่: องค์การอนามัยโลก โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) 2. โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) เช่น ซาร์ส 3. โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) เช่น กาฬโรค 4. เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organism) 5. อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons) ใช้เชื้อโรคหลายชนิดผลิตเป็นอาวุธ เช่น เชื้อแอนแทรกซ์ ไข้ทรพิษ 1.โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) 2.โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) เป็นโรคที่มาจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง หรือข้ามทวีป เช่นซาร์ส 3.โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) คือโรคติดต่อที่เคยระบาดในอดีตและสงบไปนานแล้วแต่กลับมาระบาดอีก เช่น กาฬโรค 4.เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organism) 5.อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons) โดยใช้เชื้อโรคหลายชนิดผลิตเป็นอาวุธ เช่น เชื้อแอนแทรกซ์ ไข้ทรพิษ

Why EIDs? One new disease every year Studies show over the last 50 years: One new disease every year >70% are zoonotic, % increasing Many are of transboundary in nature Wide and significant impacts (SARS/HPAI) Global significance, international public good 3 3

Timeline of EIDs / threats for Thailand Year of emergence Disease / threat 2500 Dengue 2520’s, 50’s Chikungunya ~ 2527 HIV / AIDS 2530’s VC 0139 2537 Plague (India) 2530’s, 40’s Leptospirosis ~2540’s Meningo (W135) Leishmaniasis MDRTB Year of emergence Disease / threat 2542 Nipah 2546 SARS 2547 AI (H5N1) 2552 Pandemic H1N1 Ongoing AB resist. Bacteria ? New cholera West Nile Enceph. Yellow fever What else? โรคอุบัติใหม่วันนี้ คือโรคประจำถิ่นในวันหน้า ...ถ้าควบคุมไม่ได้

โรคติดต่ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1)2009 โรคไข้หวัดนก โรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออกอีโบลา โรคไข้กาฬหลังแอ่น โรคไข้เหลือง โรคชิคุนกุนยา ซาร์ส โรคแอนแทรกซ์ โรคลีเจียนแนร์ โรคไข้ริฟต์ วาลเลย์ โรคโบทูลิซึม โรคติดเชื้อ อีโคไล ชนิดรุนแรง (E.coli O104) ค่ะ/ครับ เรามาดูกันว่า โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ มีอะไรกันบ้าง

ผลการประเมินความเสี่ยง โรค EIDs ในประเทศไทย ปี 2553 8 โรคที่ต้องให้ความสำคัญในพื้นที่ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) 2009 โรคติดเชื้อไวรัสเอนเทอโร/โรคมือเท้าปาก ไข้หวัดนก ชิคุนกุนยา ไข้กาฬหลังแอ่น ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล โรคติดเชื้อจากสเตรฟโตคอกคัส ซูอิส และ โบทูลิซึม เหล่านี้มีแนวโน้มการระบาดอยู่ในพื้นที่อย่างต่อเนื่องหรือมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดขึ้น

การพัฒนาองค์กร (พื้นฐาน) ข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ได้มาตรฐานตามที่กำหนดในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูงในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข องค์กร/ทีมงานมีคุณลักษณะที่พร้อมต่อการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ให้มีการพัฒนาระบบสั่งการ ศูนย์สั่งการ และ แนวทางปฏิบัติ (SOP)

บทบาทหน้าที่ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มวิชาการและการเตรียมความพร้อมฉุกเฉิน 1. ด้านวิชาการ (จัดทำคำแนะนำ, ข้อเสนอแนะด้านวิชาการ, มาตรการป้องกันควบคุมโรคฯลฯ) 2. ด้านปฏิบัติการ (จัดการประชุม, ออกหนังสือสั่งการ, ปฏิบัติงานอื่นๆ ในงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) 3. ด้านส่งกำลังบำรุง (วางแผน / จัดซื้อ จัดหา / สนับสนุน เวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ) 4. ด้านสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (ผลิตข้อความประชาสัมพันธ์, การจัดนิทรรศการวิชาการ ฯลฯ) กลุ่มนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 5. ด้านบริหารจัดการ (จัดทำแผนงบประมาณที่เกี่ยวข้อง เช่น งบฉุกเฉิน งบกลาง ฯลฯ) กลุ่มบริหารทั่วไป 4. ด้านสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (เผยแพร่ข้อมูลลง web site ฯลฯ) 5. ด้านบริหารจัดการ (สนับสนุนการผลิตเอกสาร ค่าล่วงเวลา ยานพาหนะ งบประมาณ ฯลฯ)

แนวทางการดำเนินงาน (SOP) ภารกิจหลัก BEID1 : การวิเคราะห์ข่าวกรองและเตือนภัยความเสี่ยง BEID2 : การเตรียมข้อมูลเพื่อเปิดศูนย์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค / กระทรวงสาธารณสุข / ประเทศ BEID3 : การจัดการสื่อสารสาธารณะ BEID4 : การจัดหา / สนับสนุนเวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ และบริหารสต๊อกคงคลัง BEID5 : การพัฒนาทีมวิทยากร และ ผลิตสื่อวิทยากร BEID6 : การให้ข้อมูลผู้บริหาร ตอบกระทู้ ตอบจดหมาย ตอบหนังสือ BEID7: การเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ร่วมกับทีม SRRT ภารกิจสนับสนุน BEID8 : การเผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์ การดูแลและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ BEID9_1 : อุปกรณ์เครือข่าย BEID9_2 : ระบบเว็บไซต์ การจัดทำแผนปฏิบัติงาน /จัดระบบกำลังคนทดแทน / พัฒนาศักยภาพ BEID10_1 : จัดทำแผนปฏิบัติงาน BEID10_2 : จัดระบบกำลังคนทดแทน BEID10_3 : บุคลากรและองค์กร BEID11 : การจัดทำระบบการบริหารจัดการ