แพทย์นำสัญจรในจังหวัด จัดระบบคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
แผนการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายโรงพยาบาล ในจังหวัดเชียงราย
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
25/07/2006.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ปัญหาสุขภาพจิตและ ฆ่าตัวตายจังหวัดเชียงราย
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สาขาจิตเวช.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แพทย์นำสัญจรในจังหวัด จัดระบบคุณภาพ รพ.เชียงรายฯ และสสจ.ชร แพทย์นำสัญจรในจังหวัด จัดระบบส่งต่อ รพ.เชียงรายฯ และสสจ.ชร

คุณภาพบริการเป็นเลิศ บุคลากรมีความสุข ศูนย์การเรียนรู้ทันสมัย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ วิสัยทัศน์ คุณภาพบริการเป็นเลิศ บุคลากรมีความสุข ศูนย์การเรียนรู้ทันสมัย บริหาร บูรณาการ หลักธรรมภิบาล บริการ องค์รวม ถึงตติยภูมิ Center of Excellence พันธกิจ บริหาร & พัฒนาร่วม กับเครือข่ายและภาคี จัดระบบสุขภาพ ศูนย์การเรียนรู้ แพทย์นำทบทวน แทรกซ้อน ตาย ศูนย์แพทย์ นศพ & แพทย์ใหม่ มาตรฐาน ไม่เสี่ยง พัฒนาระบบบริการ สุขภาพเชิงรุก & ศักยภาพเครือข่าย (การส่งต่อ ) มีส่วนร่วม ประเด็น นโยบาย บริหารมีส่วนร่วม(กกจากทุกกลุ่มงาน) ประชุม 2ครั้ง/M (กก สมาชิก เลขา) เจ้าภาพประชุมปัญหาสหสาขา (เภสัชพยาบาล ER OPD ) สื่อสารเป็นระบบ (ทุกประชุม-สรุป1หน้าส่งทุกคน กระดาษ e mail และ เลขา ข่าวย่อย-face book , line)

กิจกรรม องค์กรแพทย์ ระบบบริหารงาน & สื่อสาร (บันทึกสรุป ) 3 ประชุมหลัก 6 ครั้ง/ด 1.สมาชิก 2.หัวหน้า& กก 3. เลขา ประชุมพัฒนางาน กับสหสาขา 25 ครั้ง ใน 6 เดือนล่าสุด คุณภาพบริการเป็นเลิศ มีมาตรฐาน & ปลอดภัย โครงการสุขภาวะ(แพทย์ นำ ทบทวนตาย &แทรกซ้อน) ศูนย์การเรียนรู้ ดูแล นศพ.และแพทย์ใหม่ ระบบบริการ ระบบคุณภาพ เชื่อมโยงเครือข่าย สัญจร ขยาย-สหสาขา บริหารงาน & สื่อสาร เป็นระบบ(บันทึกสรุป ส่งทั่วถึง ทบทวนประเด็น) 3 ประชุม 6 ครั้ง/เดือน สมาชิก 2 (พุธที่2,อังคารที่ 4 ) หัวหน้ากลุ่มงาน & กรรมการ 2 เลขา 2 ประชุมพัฒนางานเช่น P4P,OPD,ER,ENV,HA,เวชระเบียน ฯลฯ รวม 25 ครั้ง ใน 6 เดือนล่าสุด การรักษาที่มาตรฐาน & ปลอดภัย(ลดตาย ลดแทรกซ้อน) การดูแล นศพ.และแพทย์ใหม่ ระบบบริการ ระบบคุณภาพบริการ กิจกรรมสัมพันธ์ เชื่อมโยงเครือข่าย สัญจร รพศ. – รพช. ขยายเป็นสหสาขา

งานสัญจร เริ่ม 2553 องค์กรแพทย์ จัดแพทย์เยี่ยมเดือนละครั้ง ขาดหายไป ประมาณ 1 ปี จัดเยี่ยมใหม่ พค. 2555 ชวนสหสาขาไปด้วย สัญจร 2 ครั้งต่อเดือน ,สัญจรแล้ว 12 รพช BAR สสจ &รพศ กับ ทีมรพช ก่อนสัญจร 53 ออก 1 ครั้งต่อเดือน จำนวน15 แห่ง จะออกค่อม ตั้งแต่ปี 52 ค่ะ และหลังจากออกค่อมก็พัฒนาเป็นผ่าตัดเล็ก ที่ รพช.ปี 54 ออก 1-2 ครั้งต่อเดือน จำนวนรวม14 แห่ง **พ.จุลพงศ์เป็นประธานองค์กรแพทย์ จึงออกในนามของสูติ-แพทย์ด้วยปี 55 ออก 2 ครั้งต่อเดือน ออกไปแล้ว 12 ครั้ง

นพ.สสจ.นำทีม สัญจร ปี 55 ที่ รพ.แม่จัน

รอง ผอก.ฝ่ายการแพทย์ นำทีมสัญจร รพ.พาน

รพ.สมเด็จพระยุพราชเชียงของ รพ.แม่จัน รพ ที่เยี่ยมแล้ว รพ.พาน รพ.สมเด็จพระยุพราชเชียงของ รพ.เวียงแก่น รพ.เทิง รพ.สมเด็จพระญาณสังวร รพ.แม่ลาว รพ.เชียงแสน รพ.ขุนตาล รพ.พญาเม็งราย รพ.แม่สรวย

กำหนดการสัญจร 9.30 -11.00 น. ออกเดินทาง 9.30 -11.00 น. ออกเดินทาง 12.00-13.00 น. อาหาร & แลกเปลี่ยนข้อมูล 13.00-14.00 น. เยี่ยม จุดปฎิบัติงาน 14.00-14.30 น. สรุปเยี่ยมทุกจุด &สรุปสัญจร 14.30-17.00 น. เดินทางกลับ 9.30 -11.00 น. ออกเดินทาง 12.00-13.00 น. อาหารกลางวัน และ แลกเปลี่ยนข้อมูล (ข้อมูลรพช.,องค์กรแพทย์,ศูนย์ refer ปัญหา การแก้ไข) 13.00-14.00 น. เยี่ยมและติดตามแต่ละหน่วยงาน แพทย์ใหม่,ศูนย์ refer ,ฝ่ายการพยาบาล, เภสัชกรรม เทคนิคการแพทย์,ARV,งานไตเทียม กายภาพบำบัด 14.00-14.30 น. สรุปเยี่ยมจุดปฏิบัติงาน&สรุปผลสัญจร (เทคนิค AAR) 14.30-17.00 น. เดินทางกลับ

สรุปแลกเปลี่ยนประเด็น &ทบทวนใบ refer

เยี่ยมตาม site งานต่าง ๆ

แพทย์

ระบบRefer และการส่งต่อ

HIV

เภสัชกร

LAB

Palliative care

หน่วยไตเทียม

กายภาพ

สรุปการสัญจร AAR : After Action Review

สิ่งที่เกินคาด/ชอบ ทุก รพ.ยินดีรับผู้ป่วยกลับทุกวันทุกเวร ยกเว้น รพ.พาน , เทิง ทีมสัญจรมีความเป็นกัลยาณมิตร ให้คำแนะนำดี ได้แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกันอย่างพี่น้อง รู้สึกอบอุ่น มีผู้ใหญ่มาดูแลน้อง และมีความจริงใจที่จะช่วยเหลือน้อง รพช. อยากให้มีเวทีการแลกเปลี่ยนแบบนี้บ่อย ๆ ได้รับข้อเสนอแนะการทำงานได้ดี ได้เยอะ เห็นความตั้งใจของแต่ละทีมผู้บริหาร รพศ-รพช. (แพทย์ ARV Palliative care refer-back Lab เภสัช กายภาพ ฯลฯ) ขณะสัญจร consult แพทย์เฉพาะทางได้ทันที เช่น รพ.เวียงแก่น consult case เด็ก,รพ.เชียงแสน consult case Ortho

สิ่งที่เกินคาด/ชอบ มีทีมประสานงานที่ดี สสจ. รพช. รพศ. มีทีมประสานงานที่ดี สสจ. รพช. รพศ. รพช.มีเอกลักษณ์โดดเด่นที่แตกต่างกัน เช่น รพ.พาน มี sport complex (ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ) รพ.พญาเม็งรายมีระบบจัดการ ตอบกลับผ่าน ระบบ e-office ที่ดี รพ.เทิง มีระบบ x-ray online รพ.เชียงของมีระบบ wimax, รพ.แม่ลาวดูแลผู้ป่วยผสมผสาน ดูแลชุมชน แพทย์ทางเลือก รพ.สมเด็จพระญาณสังวร เหมาะสมดูแล ผป.Palliative แต่ละสหสาขาวิชาชีพได้พบปะแลกเปลี่ยนกัน เกิด บูรณาการงานทันที ในเวทีสัญจร

สิ่งที่ต่ำกว่าคาด สิ่งที่จะพัฒนาต่อไป รพศ. ไปไม่ครบ ทุกสหสาขาวิชาชีพ เวลาจำกัด สิ่งที่จะพัฒนาต่อไป พัฒนาระบบการส่งต่อ refer in-out , refer link พัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาระบบการสื่อสาร การ consult อยากให้ทีมจิตเวช ทีม ER ทีมจักษุ ฯลฯ ร่วมสัญจรด้วย

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และการแก้ไขปัญหา (1) ประเด็น การแก้ไข การดำเนินงาน รพศ.ตอบกลับใบ refer ช้า พัฒนาระบบตอบกลับ ผ่าน e-office ดำเนินการแล้ว และติดตามต่อ การ consult แพทย์ Update สมุดโทรศัพท์แพทย์ ให้ทุก รพช. สับสน การส่งต่อ Update คู่มือการส่งต่อผู้ป่วย อยู่ระหว่างปรับปรุง ปัญหาตามแพทย์ Refer ผู้ป่วยยาก ล่าช้าที่ER นำเข้าประชุมกรรมการ ให้ ส่ง HOIR สรุป ตามแพทย์เวรไม่ได้ให้ตามหัวหน้า ระบบ film ของ รพศ.ไม่เป็นดิจิตอล ทำให้ประสานงานไม่สะดวก อยากให้ พัฒนา(รพ.เทิง) นำเข้าประชุม กรรมการ ประสาน x-ray เริ่มระบบ Digital ตค 55

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และการแก้ไขปัญหา (2) ประเด็น การแก้ไข การดำเนินงาน รพ.เวียงชัย ส่งศพตรวจ ไม่ได้ผล patho (ญาติไปขอใบรับรองตายที่รพช) ประสานงานนิติเวช ในประชุมกรรมการ แจ้ง รพช.โทรตรงนิติเวช แจ้งขั้นตอนดำเนินงานที่มีอยู่เดิมแล้ว Pt จิตเวช การ consult ไม่สามารถทำได้โดยตรง ไม่สะดวก แจ้งจิตเวช แจ้งให้แพทย์ รพช โทรจิตแพทย์เวร เชิญจิตเวชร่วมสัญจร ค่ารักษาใน ผป.ทีส่ง ไป เชียงคำ (รพ.เทิง) สสจ.ยืนยันส่งได้ รองผอเชียงคำ ร่วมสัญจร สสจประสานรพเชียงคำ รพขุนตานเตรียม Accredit ขอติวแพทย์ สอน แบบ ย่อ ตาม มาตรฐาน ใหม่ ติว 10 นาที ขณะพบแพทย์

ระบบการตอบกลับใบ refer ทาง e-office โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ศูนย์ส่งต่อ(refer back) โทร.053-711300 ต่อ 2161 ใบ refer ทุกใบ (ผู้ป่วยใน) เวชระเบียน scan ศูนย์คอม ดึง file ส่ง e-office ให้ รพช.ทุกวัน (เวลา 13.30 น.เป็นต้นไป) ธุรการ รพช.รับเอกสาร เสนอตามระบบ

จำนวนใบ Refer ตอบกลับ รพช 16 แห่ง เริ่มวันที่ 2 ก.ค.55 เดือน จำนวนส่ง มีแต่ใบชมพู (ใบส่งมา) มีครบ2ใบ ตอบกลับไม่สมบูรณ์ ติดสติ๊กเกอร์ที่ตึก (เริ่ม ก.ค.55) มิ.ย. 1,470 683 (47%) 787 (53%) 396 (50%) - ก.ค. 1,421 250 (18%) 1,171 (82%) 575 (49%) 55 จาก1421ใบ (29%) ส.ค 1,571 583 (37 %) 988 (63 %) 469 412 จาก 1571 (26%) ก.ย 1,522 501 (33%) 1,021 (67%) 488 (48%) 520 จาก 1522 (34%) SCAN D/C plan ส่งทาง E office (ตามทีรพชแจ้ง)

ผลของการปรับปรุง ปี ๒๕๕๕ สัญจร สม่ำเสมอ ๒ ครั้งต่อ เดือน แพทย์ ร่วมสัญจรมากขึ้นในแต่ละปี ๓๑เป็น ๔๘ และเป็น ๖๕ คน /ปี ๘ ๑๑ ๑๕ จาก ๑๗ กลุ่มแพทย์ ทีมสหสาขาเพิ่ม ๙(๓) :ศูนย์ส่งต่อ HIV ไต Palliative care ทุกรพช เพิ่มเวลารับกลับ ๑๐/๑๒ รพรับไม่จำกัด ส่งรถมารับ ระบบE office ตอบreferเร็ว (หลัง DC) (ขอข้อมูลเพิ่มได้) สรุปประชุมทันที ส่งทีมสัญจร &รพช ลงFBทันการ(๒วัน) ปรับปรุง คู่มือส่งต่อ และรายชื่อ แพทย์ของ รพ เชียงรายฯ มีการแก้ปัญหา สำคัญทันที แก้ไขต่อและติดตามจำนวนมาก ปี ๒๕๕๕ การสัญจร สม่ำเสมอ ๒ ครั้งต่อ เดือน ตามตาราง ไม่มีเลื่อน/ยกเลิกเลยใน ๗ เดือนที่กำหนด แพทย์ เข้าร่วมกิจกรรมสัญจรสม่ำเสมอและมากขึ้น จาก ๓๑เป็น ๔๘ และเป็น ๖๕ คน มีแพทย์หลายกลุ่มงานมากขึ้น จาก ๘เป็น ๑๑ และเป็น ๑๕ กลุ่มงานใน๑๗กลุ่มแพทย์ ของรพ ในปี ๒๕๕๓,๕๔ และ ๕๕ มีทีมสหสาขาเข้าร่วมเพิ่มขึ้นเดิม ๓.ทีมเป็น ๙ ทีม ทีมเพิ่มได้แก่ ๑.ศูนย์ส่งต่อ ๒ทีมดูแลผู้ป่วย เอชไอวี ๓.ทีมดูแลโรคไต ๔. ทีม Palliative care ๕.งานประกันและบริหาร UC ๖. ทีมกายภาพบำบัด รพ ชุมชนเพิ่มเวลารับผู้ป่วยกลับนอกเวลาราชการทุกโรงที่เยี่ยม ๑๐ ใน ๑๒โรงรับกลับโดยไม่จำกัดเวลา รพ ชุมชนส่งรถเปล่ามารับผู้ป่วย (ปกติรถที่มาส่งผู้ป่วยมารพ ชร จึงจะรับผู้ป่วยที่dischargeกลับ) ระบบส่งข้อมูลตอบ referเร็วขึ้น ผ่าน E officeหลังจำหน่าย (เดิมใช้ส่งไปรษณีย์) แพทย์รพช แจ้งขอข้อมูลผู้ป่วยจากศูนย์ส่งต่อได้ โดยจะสแกนเวชระเบียนหน้าสรุปการจำหน่ายของผู้ป่วยส่งให้ได้ทันที สรุปประชุมส่งให้ผู้สัญจร และรพชุมชนนั้นสม่ำเสมอ และลง Face book ได้ ทันการ(๒วันหลังเยี่ยม) ได้ปรับปรุงคู่มือ การส่งต่อ และรายชื่อ แพทย์ของ รพ เชียงรายฯ มีการแก้ปัญหาทันที และเก็บมาแก้ไขต่อในที่ประชุมกรรมการองค์กรแพทย์ และประสานผู้เกี่ยวข้อง

บทเรียน ชัดเจน นโยบาย เตรียมการ แพทย์นำ น้องแพทย์รายงาน ผู้บริหาร ประชาสัมพันธ์หลายหลาก สรุปเร็ว แพทย์รายงานที่ประชุม ลง FB จัดระบบเข้ากับจริตแพทย์(ตรงเวลา กระชับมีคุณค่า& คุ้มค่า)แพทย์รพชเข้าประชุมได้ทุกคน แพทย์รพศไปสัญจรไม่เสียงาน ได้ดูผู้ป่วย การพัฒนาศักยภาพ ตามบริบท ของรพช ใช้ทรัพยากรคุ้มค่ามากขึ้น แก้ไขปัญหาเร็ว ติดตามต่อลุล่วง :ปรึกษาแพทย์ ส่งข้อมูลผู้ป่วย ปรับคู่มือ แก้ปัญหาส่งต่อ ฯลฯ แก้ปัญหาภายในของรพช การขยายเชื่อมต่องานสหสาขา เครือข่ายเภสัชกรจ่ายยา แม่นยำในผู้ป่วยส่งต่อ เชื่อมต่อ การส่งผู้ป่วยไปรพ เชียงคำ บทเรียนที่ได้รับ การกำหนดนโยบาย รายละเอียดสัญจร กลุ่มงานและแพทย์ผู้รับผิดชอบนัดประชุมเตรียมการนัดหมายร่วมกันที่ชัดเจน ทำให้เกิดความสม่ำเสมอโดยแพทย์เป็นผู้นำการสัญจร ไม่ยึดติดที่ ผู้บริหาร การสรุปงานให้สมาชิกและสาธารณชนทราบ ประชาสัมพันธ์ หลายรูปแบบ แจ้งที่ประชุมแพทย์และกรรมการ ลง Face bookเครือข่ายสาธารณสุข ทำให้สมาชิกเข้าใจและเกิดความร่วมมือทำให้การสัญจรราบรื่น กำหนดเวลานัดชัดเจนและไปตรงเวลาทำให้ได้พบกันครบ แพทย์รพชุมชนเข้าร่วมประชุมได้แทบทุกคน การพัฒนาศักยภาพ ตามบริบท ของรพชุมชนที่อยู่ใกล้ ทำให้ใช้ทรัพยากรคุ้มค่ามากขึ้น เช่น พัฒนาด้านออร์โธปิดิกส์ รพ แม่จัน ด้านอายุรกรรม จักษุที่ รพ ญาณสังวร กายภาพบำบัดที่ รพ แม่ลาว แก้ไขปัญหาที่รวดเร็วและทันการมากขึ้น เช่น การตามแพทย์ การปรึกษา ปํญหาผู้ป่วยนิติเวช การส่งข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ ปรับปรุงคูมือส่งต่อ และมีการติดตามแก้ปัญหาสำคัญเป็นขั้นตอนจนลุล่วง การปรับรูปแบบ จัดเวลาสัญจรเข้ากับสภาพการทำงานแพทย์ (มีเวลาดูผู้ป่วยก่อนไป และกลับมาดูแลผู้ป่วยหรืออยู่เวรบ่ายทัน ไม่ต้องแลกงานฝากงาน)ทำให้ ไปเยี่ยมแล้วอยากไปอีก เพราะเห็นคุณค่า และไม่เสียเวลา การขยายงานเชื่อมต่อในงานสหสาขาต่างๆ มากเกินคาด เช่น เครือข่ายเภสัชกรที่สามารถจ่ายยา แม่นยำในผู้ป่วยที่จะส่งต่อเพราะตรวจสอบยาแต่ละโรงพยาบาลได้ เชื่อมต่อ การส่งผู้ป่วยไปรักษาที่รพ เชียงคำ โดยมีการติดตามจ่ายค่ารักษาจากงานประกัน ทีมดูแล เอชไอวี(ขยายครอบคลุม ทั้งสามงาน คือ งานป้องกันแม่ส่ลูก การให้ยาต้านผู้ใหญ่ และเด็ก) มีตัวอย่างดีๆเกิดขึ้นในงานของทีมสหสาขาต่างๆทุกทีม ทีม เอชไอวี(ขยาย PMTCT ARV ผู้ใหญ่ และเด็ก) มีตัวอย่างดีๆเกิดขึ้นในทีมสหสาขาทุกทีม

Review ใบ refer และการส่งต่อ สรุปข้อคิดเห็น ผู้เข้าประชุม Review ใบ refer และการส่งต่อ สรุปข้อคิดเห็น องค์กรแพทย์ รับ ไป ประสานแพทย์ สรุปข้อคิดเห็น จาก ทีมแพทย์ รพ.แม่สาย ยินดีรับ ผป.กลับทุกวัน ขอประสานล่วงหน้า ศูนย์ส่งต่อและฝ่ายการพยาบาล ทีมแม่สายรับ refer back ตามญาติในcase ต่างชาติ AAR ขอพยาธิแพทย์ไปสัญจร ทุกครั้ง(มีประโยชน์)

ระบบบริการที่ไว้ใจได้ ต่อเนื่อง รับทุกเรื่องไม่จำกัด ระบบบริการที่ไว้ใจได้ ต่อเนื่อง รับทุกเรื่องไม่จำกัด ไม่ร้องเรียนด้วยวาจา เขียน HOIR เท่านั้น

องค์กรแพทย์ รพชร ขอขอบคุณทุกท่าน พวกเรา เชื่อในการทำงานที่ไม่แยกส่วนกัน เชื่อในบทบาท Tertiary Care ที่ส่งเสริม Secondary, Primary care จนถึง Self Care ของ ประชาชน อยู่กันอย่างพี่น้อง ครอบครัวใหญ่ เกื้อกูล แบ่งปัน ช่วยเหลือ และเยียวยากัน พวกเรา เชื่อในการทำงานที่ไม่แยกส่วนกัน เชื่อในบทบาท Tertiary Care ที่ส่งเสริม Secondary, Primary care จนถึงจุดที่ ประชาชน สามารถ Self Care ได้ อยู่กันอย่างพี่น้องดั่งครอบครัวใหญ่ เกื้อกูล แบ่งปัน ช่วยเหลือ และเยียวยากัน