ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ประเด็นยุทธศาสตร์ : การควบคุมและป้องกันมลพิษ โดย นางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16

ประเด็นยุทธศาสตร์ : การควบคุมมลพิษ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษต่าง ๆ ที่เกิดจากกิจกรรมการผลิตและอุปโภคที่ส่งผลกระทบทางลบ ต่อระบบนิเวศและคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในลุ่มน้ำ

มาตรการ 1. ลดการปล่อยสารอาหารจากชุมชน อุตสาหกรรม ฟาร์มสุกร และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำลงสู่ทะเลสาบสงขลา 2. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบบำบัดน้ำเสีย และหรือปรับปรุงเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสม 3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักในปัญหามลพิษ 4. บริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ สังคม และการเมือง 5. ควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินและแหล่งกำเนิดมลพิษ 6. ปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อมชุมชนในริมคลอง โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน

ตัวชี้วัดแผนแม่บทประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การควบคุมและป้องกันมลพิษ พื้นที่แหล่งน้ำในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา มีคุณภาพน้ำไม่ต่ำกว่าประเภทที่ 3 (พอใช้) ตามมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน ระยะสั้น (1 ปี : พ.ศ.2549) ค่าเป้าหมาย : 50% ระยะกลาง (5 ปี : พ.ศ. 2553) ค่าเป้าหมาย : 85% ระยะยาว (10 ปี : พ.ศ. 2558) ค่าเป้าหมาย : 100%

จุดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

กราฟแสดงคุณภาพน้ำ ปี 2541-2549 85% 50%

ความก้าวหน้า ลดการปล่อยสารอาหารจากชุมชน อุตสาหกรรม ฟาร์มสุกรและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำลงสู่ทะเลสาบสงขลา การกำกับติดตามตรวจสอบแหล่งกำเนิดมลพิษ ที่ระบายน้ำทิ้งลงสู่สิ่งแวดล้อม การเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการ ในการลดมลพิษโดยเทคโนโลยีสะอาด และจัดโครงการนำร่องในแต่ละประเภทอุตสาหกรรม

2. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบบำบัดน้ำเสีย และ/หรือปรับปรุงเทคโนโลยีการบำบัดนำเสียที่เหมาะสม จัดทำระบบบำบัดน้ำเสียนำร่อง ถ่ายทอดเทคโนโยลีการจัดการน้ำเสียชุมชน การประเมินปริมาณน้ำเสียและปริมาณความสกปรก จากชุมชน ลงสู่แหล่งน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำคลองอู่ตะเภา และลำปำ การบริหารจัดการแบบบูรณาการเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำคาบสมุทรสทิงพระ

3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักในปัญหามลพิษ เครือข่ายติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อหนังสือพิมพ์, วิทยุ, โทรทัศน์ ฯลฯ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น วารสารเม็ดทราย การจัดนิทรรศการเนื่องในวันสำคัญด้านสิ่งแวดล้อม และในโอกาสต่างๆ 4. บริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ สังคม และการเมือง การเพิ่มขีดความสามารถระบบกำจัดที่ถูกสุขลักษณะที่มีอยู่เดิม การส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท.มีการลดและคัดแยกขยะไปใช้ ประโยชน์

5. การควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินและแหล่งกำเนิดมลพิษ การจัดทำฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดมลพิษ การศึกษาและประเมินศักยภาพการรองรับมลพิษ (Carrying Capacity)ของแหล่งน้ำใน ทะเลสาบสงขลา (คลองอู่ตะเภา)

ปัญหาและอุปสรรค ยังคงมีการปล่อยสารอาหารลงสู่แหล่งน้ำ ความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังอยู่ในวงจำกัด การบูรณาการยังไม่เป็นรูปธรรม จิตสำนึกของผู้เกี่ยวข้องและประชาชนยังมีน้อย

กลยุทธ์ในการดำเนินการต่อไป เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในทุก อปท. โดยใช้กลไกของแผนปฎิบัติการในแต่ละท้องถิ่น ดำเนินการบูรณาการในระดับลุ่มน้ำสาขา และเชื่อมโยงกันเป็นลุ่มน้ำย่อย และลุ่มน้ำหลัก เป็นลำดับไป

ข้อมูลลำน้ำ ข้อมูลคุณภาพน้ำ ข้อมูลปริมาณน้ำเสีย และปริมาณความสกปรกที่ลงสู่แหล่งน้ำ บริหารจัดการ ตัดสินใจ มีส่วนร่วมและบูรณาการในทุก อปท. วางแผนปฏิบัติ ดำเนินการ

จุดเก็บตัวอย่างน้ำของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

คุณภาพน้ำของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ปี 2550

The end