การสำรวจผีเสื้อกลางวัน นันทิยา รัตนจันทร์ นักกีฏวิทยาปฏิบัติการ กลุ่มงานกีฏวิทยาและจุลชีววิทยาป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
Order Lepidoptera แมลงที่มีปีกปกคลุมด้วยเกล็ด ผีเสื้อกลางวันและกลางคืน (Butterfly and Moth) ความแตกต่างของผีเสื้อกลางวันและกลางคืน พฤติกรรมการหากิน และรูปร่างที่แตกต่างกัน อวัยวะที่แตกต่างกัน และใช้ในการจำแนก หนวด อวัยวะสืบพันธุ์
ผีเสื้อกลางวัน
Life Cycle
ความสัมพันธ์กับระบบนิเวศ ห่วงโซ่อาหาร เป็นผู้ถูกล่า ขบวนการย่อยสลาย การหมุนเวียนของธาตุอาหาร การถ่ายละอองเกสรพืช
บทบาทที่มีต่อมนุษย์ ทางตรง: อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค การท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์จากแมลง ทางอ้อม: การใช้เป็นดัชนีชี้วัดสภาพแวดล้อม
ปัจจัยการดำรงชีวิต แสงแดด อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม แหล่งที่อยู่อาศัย ศัตรู อาหาร
อาหาร โป่งผีเสื้อ พืชอาหาร พืชอาหารของตัวเต็มวัย พืชอาหารของตัวหนอน พืชอาหารของตัวหนอน กินพืชอาหารได้หลายชนิด กินพืชอาหารแบบเฉพาะเจาะจง
โป่งผีเสื้อ
วิธีการสำรวจ หลักการ อาศัยความสัมพันธ์ของผีเสื้อกับสิ่งแวดล้อม พืชอาหาร ในการตีความเพื่อทำนายการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม หรือนำความรู้ที่ได้ ไปใช้ประกอบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ วิธีการ การสำรวจเพื่อจัดทำบัญชีรายชื่อ (Checklist ) การใช้กับดักผีเสื้อ (Butterfly trap) การใช้แนวสำรวจ (Butterfly transect) ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดคือ 10.00-14.00 น.
Butterfly trap
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง กล่องพลาสติก ปากกา/ดินสอ GPS
วิธีการเก็บผีเสื้อ การโฉบผีเสื้อ การทำให้ผีเสื้อสลบ การเก็บรักษาผีเสื้อก่อนนำไปเซ็ต
การบันทึกข้อมูลในซองผีเสื้อ สถานที่ วันที่ เดือน ปี , เวลา……….. ชื่อผู้เก็บ
.....ฝึกปฏิบัติ.....