เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
ICT & LEARN.
บทบาทศึกษานิเทศก์ กับ การสนับสนุน eDLTV ในโรงเรียน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
หัวข้อที่จะกล่าวถึง eLearning คืออะไร ทำไมต้อง eLearning
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
สรุปการดำเนินงานด้าน ICT โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
งานศึกษาค้นคว้ารายงาน รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สวัสดีครับ.
บทที่ 8 การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
กระบวนการบริหารจัดการระบบงานสารสนเทศ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนปฏิรูปงานสำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง การพัฒนา ทรัพยากร บุคคล การสร้าง ความเชื่อมั่น และความรู้ ความเข้าใจ ในเชิงรุก การปฏิรูป ระบบงาน และ IT และ IT สศค.
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
ข่าวเทคโนโลยี สารสนเทศ เรื่อง ก. ไอซีทีบุกเกาหลีดูการใช้ไอทีลด ความเหลือมล้ำการศึกษา ความเหลือมล้ำการศึกษา จัดทำโดย น. ส. ณภัทร สิงหนาท ม.4/12 เลขที่ 24.
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์

ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ แบ่งตามประเภท : ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, ข้อมูล, ผู้ใช้ แบ่งตามขนาด : คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง, เมนเฟรม, เวอร์คสเตชั่น, พีซี, โน้ตบุ้ค เทคโนโลยีการสื่อสาร มีสาย ไร้สาย เครือข่าย เครือข่ายภายในท้องถิ่น (LAN) อินเทอร์เน็ต (Internet)

ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์สำนักงานอัตโนมัติ โปรแกรมพิมพ์, ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องสแกนเนอร์ ระบบประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล การประยุกต์ใช้งาน ทางสังคม : การศึกษา/สาธารณสุข/บริการประชาชน ฯลฯ ทางเศรษฐกิจ : ลดกระดาษ, โอนเงิน, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ

สังคมดิจิทัล (Digital Society) การใช้ความรู้เป็นสำคัญ (Knowledge) ระบบดิจิทัล (Digitization) ระบบเสมือนจริง (Virtualization) ขับเคลื่อนด้วยหน่วยย่อย (Molecularization) ระบบบูรณาการและเครือข่าย(Integration/Networking) ไร้คนกลาง (Disintermediation) การหลอมรวม (Convergence) นวัตกรรม (Innovation) ผู้บริโภคร่วมผลิต (Prosumption) ทันการณ์ (Immediacy) โลกาภิวัตน์ (Globalization) ผลข้างเคียง (Discordance)

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ICT for Learning

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 : เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สื่อ คลื่นความถี่ เพื่อการศึกษา พัฒนาครู พัฒนาเนื้อหา กองทุน สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สิทธิขั้นพื้นฐานในการเข้าถึง

เป้าหมายเชิงนโยบาย เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เครือข่ายการศึกษา ซอฟต์แวร์และเนื้อหาดิจิทัล ยกระดับทักษะทางเทคโนโลยีของครูอย่างมีระบบรองรับ การส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ดิจิทัล ระบบสารสนเทศการศึกษาเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการ โรงเรียน เทคโนโลยี และชุมชน

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำของโอกาสทางการศึกษา เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดาวเทียม ไร้สาย พัฒนาคุณภาพทางการศึกษา สื่อ CD-R0M, CAI / นวัตกรรมConstructionism ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ระดับท้องถิ่นและระดับโลก ห้องสมุด/คลังดิจิทอล (Digital Library/Archive) ระบบเสมือนเพื่อการศึกษา (Virtual Reality) ช่วยงานบริหารการศึกษา ระบบสารสนเทศโรงเรียน (School Information System)

บทบาทของอินเทอร์เน็ตกับการศึกษา ปรับบทบาทของครูจาก “ผู้สอน” อย่างเดียวมาเป็น “ผู้แนะนำชี้ทาง” (Facilitator) พร้อม ๆ กันไป นักเรียนเรียนรู้และค้นคว้าด้วยตนเองสะดวกและรวดเร็วมากขึ้นเป็นการเรียนรู้ “เชิงรุก” พัฒนาการ “สื่อสาร” ระหว่างครูกับนักเรียน ผ่านทาง electronic-mail ครูและนักเรียนเข้าถึงแหล่งความรู้ของ “ห้องสมุดโลก” โดย ไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลาและสถานที่ มีความเท่าเทียมกันในการรับรู้ข่าวสาร ข้อมูล สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ทั่วโลก

ห้องเรียนยุคบูรณาการ Classroom Learning e-Learning Textbooks & Reading lists Chalk & Talk Class Discussion Help after Class Quarterly Report Cards On School Ground Content Portals & Online Resources Rich Multimedia & Interactive Content Inter-Classroom Collaboration Online Web-based Tutoring on Demand Real-time Student Information System Multiple Location +

Curriculum Modernization Institution Strengthening Training IT for Education Co-operation Network Content Awareness Networking Equipment Curriculum Modernization Institution Strengthening Infrastructure

โรงเรียนยุคใหม่ : สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ ห้องสมุดดิจิทัล และ คลังความรู้ คัดสรรสาระทางการศึกษาที่ดีที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิชาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เสาะหาความรู้ที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต สร้างสมดุลระหว่างห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และสิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยีในห้องเรียนทั่วไป ตัวอย่างสิ่งแวดล้อมในห้องเรียน : คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย โปรเจ็คเตอร์ พรินเตอร์ วีดิทัศน์ วิทยุ โทรทัศน์ มีสายเชี่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ ซอฟต์แวร์ และ เนื้อหาเฉพาะวิชา ข้อมูลอ้างอิง การทดลองเสมือน

โรงเรียนยุคใหม่ : การบูรณาการ ตำรากระดาษ เอกสารการเรียนการสอน โสตทัศนอุปกรณ์ ระบบกระจายเสียงหลายสื่อ เคเบิลทีวี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ระบบสื่อสารอื่น ๆ มัลติมีเดีย ห้องสมุดดิจิทัล และแหล่งทรัพยากรข้อมูลความรู้ คลังฐานข้อมูลรายวิชา คลังข้อมูลอ้างอิงและความรู้อื่น ๆ สื่อสอนภาษา

โรงเรียนยุคใหม่ : บทบาทและความรับผิดชอบ ผู้บริหารโรงเรียนต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ครูปรับบทบาทเป็นผู้แนะนำใกล้ชิดและเตรียมการสอนแบบใหม่ นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ที่กระฉับกระเฉง ดึงผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในฐานะผู้สนับสนุน ดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ไอซีทีเป็นเพียงเครื่องมือและแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ เติมพลังให้มนุษย์ด้วยเครื่องจักรสมองกลและเทคโนโลยี

โรงเรียนยุคใหม่ : ปัจจัยสำคัญ โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ฝึกอบรมครูTraining training & training จัดหา ผลิต และใช้เนื้อหาทางการศึกษาการบริหารจัดการความรู้ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการการศึกษา การบริหารจัดการจริยธรรมยุคดิจิทัล