มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ลักษณะของครูที่ดี.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
สถาบันการศึกษา.
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม Moral reasoning
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
เกราะ ๕ ชั้น และ คุณธรรม ๔ ประการ
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
วันอาสาฬหบูชา.
การบริหารจิต.
๑. ๑ ปลูกฝังเยาวชนคนยุคใหม่ให้มีธรรมะ เสมือนเป็นเสาเขื่อน เสาหลักของจิตใจที่ สามารถนำมาใช้ได้จริง ด้วยการรักษาศีล ๕ ๑. ๒ ส่งเสริมนักเรียนให้ใช้เวลาว่างให้เกิด.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
การรู้สัจธรรมของชีวิต
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
อริยสัจ 4.
พุทธศาสนากับชีวิตประจำวัน ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย

วางรากฐานชีวิต กฎ ๑. เว้นชั่ว ๑๔ ประการ กฎ ๒. เตรียมทุนชีวิต ๒ ด้าน กฎ ๑. เว้นชั่ว ๑๔ ประการ กฎ ๒. เตรียมทุนชีวิต ๒ ด้าน กฎ ๓ รักษาความสัมพันธ์ ๖ ทิศ

เว้นชั่ว ๑๔ ประการ กรรมกิเลส ๔ อคติ ๔ อบายมุข ๖

เตรียมทุนชีวิต เลือกคบมิตร ขยันหาทรัพย์และ รู้จักใช้ทรัพย์

รักษาความสัมพันธ์ ๖ ทิศ ทำทุกทิศให้เกษม เกื้อกูลประสานสังคม

ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย ประโยชน์ต่อตน ประโยชน์ต่อผู้อื่น ประโยชน์ต่อสังคม/ชาติ

ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย ขั้นที่ ๑. ประโยชน์(ปัจจุบัน) (ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์) ขั้นที่ ๒. ประโยชน์ (เลยตาเห็น) (สัมปรายิกัตถะประโยชน์) ขั้นที่ ๓. ประโยชน์สูงสุด (ปรมัตถะประโยชน์)

ทฤษฏีพัฒนาการเหตุผลเชิงจริยธรรม (Kohlberg 1964, 1976) ระดับก่อนเกณฑ์ ขั้นที่ 1 หลบหลีกการลงโทษ ขั้นที่ 2 แสวงหารางวัลที่เป็นวัตถุ ระดับตามเกณฑ์ ขั้นที่ 3 ทำตามผู้อื่น เห็นแก่พวกพ้อง ขั้นที่ 4 ทำตามหน้าที่ กฎหมาย หลักศาสนา

ทฤษฏีพัฒนาการเหตุผลเชิงจริยธรรม (Kohlberg 1964, 1976) ระดับเหนือเกณฑ์ ขั้นที่ 5 ควบคุมตนเอง ภาคภูมิใจ มีความละอายใจ (หิริ) ขั้นที่ 6 มีอุดมคติ เกลียดกลัวความชั่ว (โอตัปปะ)

จิตใจ 3 ประเภท ประเภทแรก : เห็นแก่ตัว กลัวการลงโทษทางกาย ประเภทแรก : เห็นแก่ตัว กลัวการลงโทษทางกาย (เป็นสัตว์) ให้ความสำคัญกับวัตถุ ประเภทสอง : ชอบอยู่กับผู้อื่น กลัวการครหานินทา (เป็นคน) แสวงหายศ สรรเสริญ อยู่ในกรอบและระเบียบสังคม

จิตใจ 3 ประเภท ประเภทสาม : มีความละอายใจ (หิริ) ประเภทสาม : มีความละอายใจ (หิริ) (เป็นเทวดา) เกรงกลัวบาป (โอตัปปะ) ควบคุมตนเอง

ชาวพุทธชั้นนำ 2 มีศีล - ตั้งมั่นปฏิบัติตามแนวศีล 5 1 มีศรัทธา - ในพระรัตนะตรัย 2 มีศีล - ตั้งมั่นปฏิบัติตามแนวศีล 5 - ถืออุโบสถศีลตามกาล 3 เชื่อกรรม - มุ่งผลการกระทำด้วยความเพียรตนเอง - ไม่ถือมงคลตื่นข่าว (มีเหตุผล)

ชาวพุทธชั้นนำ 4 ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพระพุทธศาสนา (พาหิรทักขิไณย์) 5 ทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา ที่มา : อุบาสกธรรม 5

จุดมุ่งหมายของชีวิต ขั้นที่ 1 ประโยชน์ปัจจุบัน : สุขภาพดี มีงาน มีเงิน (ทิฎฐธัมมิกัตถะ) สังคมยอมรับ ขั้นที่ 2 ประโยชน์เลยตาเห็น : สุขใจ ภูมิใจ มั่นใจ โล่งใจ (สัมปรายิกัตถะ) ขั้นที่ 3 ประโยชน์สูงสุด : มีใจมั่นคง ไม่ยึดมั่น (ปรมัตถะ) จิตใจผ่องแผ้ว อยู่ด้วยปัญญา

หลักปฏิบัติของชาวพุทธ ไตรสิกขา มรรคมีองค์แปด 1 ศีล 1 สัมมาวาจา 2 สัมมากัมมันตะ 3 สัมมาอาชีวะ 2 สมาธิ 4 สัมมาวายามะ 5 สัมมาสติ 6 สัมมาสมาธิ 3 ปัญญา 7 สัมมาทิฐิ 8 สัมมาสังกัปปะ