ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ
4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO
1. ปัญหาการขาดสภาพคล่อง ทางการเงิน สาเหตุ - ด้านโครงสร้าง =>ประชากร น้อย/ติดชายแดน/ มี พท. รอยต่อหลายจังหวัด - ขยายบริการ / Fix cost สูง การใช้จ่าย ไม่เป็นไปตามแผน - การจัดซื้อ ราคาสูงกว่าต้นทุน ค่าเฉลี่ยในระดับเดียวกัน 3. สาเหตุ - ด้านโครงสร้าง =>ประชากร น้อย/ติดชายแดน/ มี พท. รอยต่อหลายจังหวัด - ขยายบริการ / Fix cost สูง การใช้จ่าย ไม่เป็นไปตามแผน - การจัดซื้อ ราคาสูงกว่าต้นทุน ค่าเฉลี่ยในระดับเดียวกัน ปัญหาการขาดสภาพคล่องทางการเงิน
- การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินอาจ คลาดเคลื่อน เนื่องจากคุณภาพการบันทึก บัญชีไม่ผ่านเกณฑ์ - ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ พบว่า ไตรมาสที่ หน่วยบริการที่มีความเสี่ยงทาง การเงินสูง จำนวน 11 แห่ง ร้อยละ 85 - ระดับ 7 จำนวน 3 แห่ง (สังขะ,ชุมพลบุรี,บัวเชด) - ระดับ 4 จำนวน 4 แห่ง (สนม,สำโรงทาบ,ศรีขรภูมิ,ลำดวน) - การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินอาจ คลาดเคลื่อน เนื่องจากคุณภาพการบันทึก บัญชีไม่ผ่านเกณฑ์ - ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ พบว่า ไตรมาสที่ หน่วยบริการที่มีความเสี่ยงทาง การเงินสูง จำนวน 11 แห่ง ร้อยละ 85 - ระดับ 7 จำนวน 3 แห่ง (สังขะ,ชุมพลบุรี,บัวเชด) - ระดับ 4 จำนวน 4 แห่ง (สนม,สำโรงทาบ,ศรีขรภูมิ,ลำดวน)
กระบวนการบริหารจัดการและการแก้ไข จังหวัดมีการประชุมคณะกรรมการ CFO และมีการเฝ้าระวังติดตามกำกับ วิเคราะห์ สาเหตุปัญหาของการเกิดสภาพคล่องทาง การเงินชัดเจน จังหวัดมีการตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนส่ง ข้อมูลงบทดลอง เยี่ยมหน่วยบริการที่มีปัญหา ในด้านการ บันทึกข้อมูลทางบัญชี จังหวัดมีการประชุมคณะกรรมการ CFO และมีการเฝ้าระวังติดตามกำกับ วิเคราะห์ สาเหตุปัญหาของการเกิดสภาพคล่องทาง การเงินชัดเจน จังหวัดมีการตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนส่ง ข้อมูลงบทดลอง เยี่ยมหน่วยบริการที่มีปัญหา ในด้านการ บันทึกข้อมูลทางบัญชี
ข้อเสนอแนะ CFO จังหวัด ควรนำผลการวิเคราะห์ สถานการณ์การเงินรายงานผู้บริหารทุก ไตรมาส จังหวัดควรจัดทำแนวทางการบริหาร จัดการและการช่วยเหลือหน่วยบริการที่ มีปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงินที่ ชัดเจน เกณฑ์การประเมินคุณภาพบัญชี ควร ใช้เกณฑ์มาตรฐานของสพค.กลุ่ม ประกันสุขภาพ CFO จังหวัด ควรนำผลการวิเคราะห์ สถานการณ์การเงินรายงานผู้บริหารทุก ไตรมาส จังหวัดควรจัดทำแนวทางการบริหาร จัดการและการช่วยเหลือหน่วยบริการที่ มีปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงินที่ ชัดเจน เกณฑ์การประเมินคุณภาพบัญชี ควร ใช้เกณฑ์มาตรฐานของสพค.กลุ่ม ประกันสุขภาพ
ข้อเสนอแน ะ 1. พัฒนาคุณภาพการบันทึกบัญชี 2. เห็นควรเร่งแก้ไขการขาดสภาพคล่อง ทางการเงินของ รพ.ขนาดเล็ก /ติด ชายแดน /พื้นที่รอยต่อ 3. รพ.ขนาดใหญ่ ที่มีความเสี่ยง ระดับ 7 เห็นควรให้มีการตรวจสอบอย่างเข้มข้น 4. หน่วยบริการที่มีความเสี่ยงระดับ 4 ขึ้น ไปควรมีการตรวจสอบบัญชี 1. พัฒนาคุณภาพการบันทึกบัญชี 2. เห็นควรเร่งแก้ไขการขาดสภาพคล่อง ทางการเงินของ รพ.ขนาดเล็ก /ติด ชายแดน /พื้นที่รอยต่อ 3. รพ.ขนาดใหญ่ ที่มีความเสี่ยง ระดับ 7 เห็นควรให้มีการตรวจสอบอย่างเข้มข้น 4. หน่วยบริการที่มีความเสี่ยงระดับ 4 ขึ้น ไปควรมีการตรวจสอบบัญชี
4.2 การบริหาร จัดการ บุคลากร บุคลากร 4.2 การบริหาร จัดการ บุคลากร บุคลากร
ปัญหา 1. ขาดบุคลากร ทุกวิชาชีพ 2. ขาดการนำ GAP Competency มาทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual developing plan) 1. ขาดบุคลากร ทุกวิชาชีพ 2. ขาดการนำ GAP Competency มาทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual developing plan)
ข้อเสนอแนะ ควรมีการประเมิน สมรรถนะ บุคลากร หา GAP Competency เพื่อการ พัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน
4.3 ควบคุม ภายใน (Internal Control : IC)
ปัญหา 1. มีการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน แต่ไม่ครอบคลุมตามมาตรฐานที่ กำหนด โดยยัง มุ่งเน้นเฉพาะ การเงิน/พัสดุ ส่งผลให้การวิเคราะห์ ยังไม่ครอบคลุมถึงประเด็นสำคัญ 2. หน่วยงานยังไม่เข้าใจในการ ดำเนินงานควบคุมภายใน 1. มีการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน แต่ไม่ครอบคลุมตามมาตรฐานที่ กำหนด โดยยัง มุ่งเน้นเฉพาะ การเงิน/พัสดุ ส่งผลให้การวิเคราะห์ ยังไม่ครอบคลุมถึงประเด็นสำคัญ 2. หน่วยงานยังไม่เข้าใจในการ ดำเนินงานควบคุมภายใน
ข้อเสนอแนะ ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ ใน การจัดทำ ระบบควบคุมภายในที่ ถูกต้องให้กับบุคลากรที่ เกี่ยวข้องทุกระดับ
4.4 คุณธรรม จริยธรรม
ปัญห า การมีส่วนร่วมของ บุคลากรน้อย ข้อเสนอแ นะ เห็นควรให้มีการพัฒนา สร้างเสริมการมีส่วนร่วม กิจกรรมด้านจิตอาสา ของบุคลากรให้มากขึ้น
ด้วยความขอบคุณ นพ. วรัญญู LEADER TEAM