ผลิตภาพการผลิตรวม Total Factor Productivity : TFP สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้สำรวจภาวะธุรกิจในไตรมาสที่ 3/2542 และคาดการณ์แนวโน้มไตรมาสที่ 4/2542 ซึ่งได้สรุปผลการสำรวจดังนี้
National Accounts Office ผลิตภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity : TFP หมายถึง การวัดอัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ (GDP Growth) ที่เกิดขึ้น จากส่วนที่มิ ได้มาจากการเพิ่มของปัจจัยการผลิต (ทุน แรงงาน และที่ดิน) การวิเคราะห์ TFP โดยวิธี non parametric approach National Accounts Office
ผลิตภาพการผลิต (Productivity) เป็นข้อมูลที่ใช้วัดว่าการใช้ปัจจัยการผลิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากน้อยเพียงใด ผลิตภาพการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต การสร้างมูลค่าสินค้าและบริการ จากการออกแบบ พัฒนาคุณภาพ และสร้างความแตกต่างที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค และสามารถกำหนดทิศทางตลาดได้ ซึ่งเกิดจาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมของกระบวนการผลิต (Process innovation) การพัฒนาคุณภาพคน/ ทักษะแรงงาน การบริหารจัดการองค์กร การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน และการให้บริการ/ การบริหารจัดการภาครัฐ นวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ (Product innovation) การพัฒนาคุณภาพคน/ แรงงาน การบริหารจัดการองค์ความรู้ การยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรม การศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มตลาด R&D ผลิตภาพการผลิตรวมที่เพิ่มขึ้น จึงเป็นการขยายตัวของเศรษฐกิจในส่วนที่นอกเหนือจากการใช้ปัจจัยทุนและแรงงานในปริมาณที่เพิ่มขึ้น
National Accounts Office ผลิตภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity : TFP Production function Yt = At (Kt,Lt,Nt) = A K L N Assumption : Constant Return to Scale + + = 1 National Accounts Office
National Accounts Office Total Factor Productivity :TFP TFP = dY - α dK - ß dL – δ dN Y K L N Y = GDP K = ปัจจัยทุน L = ปัจจัยแรงงาน N = ปัจจัยทีดิน α = ส่วนแบ่งรายได้ของปัจจัยทุน ß = ส่วนแบ่งรายได้ของปัจจัยแรงงาน δ = ส่วนแบ่งรายได้ของปัจจัยที่ดิน National Accounts Office
National Accounts Office Gross Capital stock GCSt = GFCFit * it GCS = Gross Capital Stock GFCF = Gross Fixed Capital Formation i = Type of Assets t = Year (t = 1,2,3,...,L) L = Service Lifetime = Rate of Retirement National Accounts Office
National Accounts Office Net Capital stock NCSt = NCSt-1 + GFCFt - COFCt NCS = Net Capital Stock GFCF = Gross Fixed Capital Formation COFC = Depreciation National Accounts Office
อัตราขยายตัวของปัจจัยทุน Peak (>10%) ช่วงก่อนวิกฤต ช่วงวิกฤต ช่วงหลังวิกฤต
อัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ และ TFP ช่วงหลังวิกฤต ช่วงวิกฤต ช่วงก่อนวิกฤต
TFP ปี 2525-2549 Contribution of GDP Growth Labor Land Capital TFP แผนฯ 5 (2525-2529) 5.37 0.74 0.02 4.72 -0.10 แผนฯ 6 (2530-2534) 10.94 0.86 0.01 7.69 2.38 แผนฯ 7 (2535-2539) 8.09 0.37 7.74 -0.03 แผนฯ 8 (2540-2544) 0.26 1.37 -1.74 แผนฯ 9 (2545-2549) 5.65 0.73 1.65 3.26 เฉลี่ย (2525-2549) 5.99 0.59 4.63 0.76 ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ สศช.
TFP สาขาเกษตรกรรม ปี 2525-2549 Contribution of GDP Growth Labor Land Capital TFP แผนฯ 5 (2525-2529) 3.31 0.15 0.11 1.87 1.18 แผนฯ 6 (2530-2534) 4.55 0.06 3.01 1.36 แผนฯ 7 (2535-2539) 2.98 -0.27 0.05 6.57 -3.37 แผนฯ 8 (2540-2544) 2.04 -0.07 3.34 -1.29 แผนฯ 9 (2545-2549) 2.51 0.04 3.22 -0.81 เฉลี่ย (2525-2549) 3.08 -0.01 0.07 3.60 -0.59 ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ สศช.
TFP สาขาอุตสาหกรรม ปี 2525-2549 Contribution of GDP Growth Labor Capital TFP แผนฯ 5 (2525-2529) 5.70 1.07 4.78 -0.15 แผนฯ 6 (2530-2534) 15.48 3.05 11.08 1.35 แผนฯ 7 (2535-2539) 10.25 1.96 7.85 0.44 แผนฯ 8 (2540-2544) 2.04 0.54 1.00 0.50 แผนฯ 9 (2545-2549) 7.47 1.38 2.14 3.95 เฉลี่ย (2525-2549) 8.19 1.60 5.37 1.22 ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ สศช.
TFP สาขาบริการ และอื่นๆ ปี 2525-2549 Contribution of GDP Growth Labor Capital TFP แผนฯ 5 (2525-2529) 5.99 1.93 4.92 -0.86 แผนฯ 6 (2530-2534) 1.79 1.78 7.40 1.61 แผนฯ 7 (2535-2539) 8.07 1.94 7.81 -1.68 แผนฯ 8 (2540-2544) -1.73 0.71 1.33 -3.77 แผนฯ 9 (2545-2549) 5.10 1.24 1.37 2.50 เฉลี่ย (2525-2549) 5.65 1.52 4.57 -0.44 ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ สศช.
TFP Growth by sector
สรุปประเด็นปัญหาสู่แนวทางการเพิ่มผลิตภาพการผลิต TFP ต่ำ : ขาดนวัตกรรมทั้ง products และ process เกษตร ผลผลิตขึ้นกับภูมิ อากาศ เทคโนโลยีต่ำ อุตฯ เพิ่มขึ้นช้า การพัฒนานวัตกรรม มีน้อย บริการ ผันผวน การพัฒนานวัตกรรม มีน้อย สะสมทุนสูง GDP growth (100%) (10%) (13%) เป้าหมาย เพิ่ม TFP บริการ จัดการที่ดี แนวทาง พัฒนาแรงงานทักษะ ยกระดับเทคโนโลยี และนวัตกรรม บริหารจัดการปัจจัยแวดล้อม สร้างจิตสำนึก