งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สต็อกทุนของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สต็อกทุนของประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สต็อกทุนของประเทศไทย
Capital Stock of Thailand ฉบับ พ.ศ. 2545 ส่วนงานบัญชีทุนและงบดุลแห่งชาติ สำนักบัญชีประชาชาติ พฤษภาคม 2547 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้สำรวจภาวะธุรกิจในไตรมาสที่ 3/2542 และคาดการณ์แนวโน้มไตรมาสที่ 4/2542 ซึ่งได้สรุปผลการสำรวจดังนี้

2 Outline of Presentation National Accounts Office
ส่วนที่ 1 การจัดทำบัญชีสต็อกทุนของประเทศไทย ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ปัจจัยทุน Incremental Capital Output Ratio :ICOR Capital Productivity : CP Total Factor Productivity :TFP National Accounts Office National Balance Sheet Section

3 National Accounts Office
ส่วนที่ 1 การจัดทำบัญชีสต็อกทุนของประเทศไทย คำนิยาม (Definition) วิธีการ (Methodology) ผลการวิเคราะห์ (Results) National Accounts Office National Balance Sheet Section

4 National Accounts Office
คำนิยาม ทุน (Capital) หมายถึง ทรัพย์สินที่ถูกใช้เป็นปัจจัยการผลิต สำหรับผลิตสินค้าและบริการประกอบด้วย ทรัพย์สิน ถาวร (Fixed Asset) และทรัพย์สินทางการเงิน (Financial Asset) แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะส่วน ที่เป็นทรัพย์สินถาวรเท่านั้น โดยทรัพย์สินถาวร ดังกล่าวจะต้องเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาในระบบ เศรษฐกิจ มีตัวตน มีความคงทนถาวร มีอายุใช้งาน เกิน 1 ปี และสามารถสร้างขึ้นใหม่ทดแทนได้ National Accounts Office National Balance Sheet Section

5 National Accounts Office
คำนิยาม (ต่อ) สต็อกทุน (Gross Capital Stock: GCS) หมายถึง ผลรวมของทุนที่อยู่ในรูปของทรัพย์สิน ถาวร (Fixed Asset) ที่ถูกสะสมมาเรื่อยๆ ตามอายุ การใช้งานของทรัพย์สินประเภทนั้นๆ โดยทั่วไป นิยมวัดสต็อกทุนที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง คือ ณ วันสิ้นปี สต็อกทุนสุทธิ (Net Capital Stock: NCS) หมายถึง มูลค่าของสต็อกทุนหลังจากหักค่าเสื่อม ราคาสะสม National Accounts Office National Balance Sheet Section

6 National Accounts Office
วิธีการ (Methodology) แนวคิดพื้นฐาน ประมวลผลโดยวิธีการสะสมทุนนิรันดร์ (Perpetual Inventory Method: PIM) คือ หามูลค่าของ ทรัพย์สินถาวรที่มีอยู่ทั้งหมด ณ ปีใดปีหนึ่งโดย มูลค่าดังกล่าวครอบคลุมทุนส่วนที่ได้ลงทุนในอดีต ตั้งแต่ปีเริ่มแรกของการใช้งานรวมกับที่จัดหา เพิ่มเติมในปีต่อมา หักด้วยส่วนปลดระวางออกไป จากขบวนการผลิตจนถึงปีสุดท้ายที่ต้องการวัด สต็อกทุน มูลค่ารวมของทรัพย์สินถาวรตามราคาปีที่ ต้องการหาที่ยังไม่ได้หักค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน ถาวร เรียกว่า สต็อกทุน (Gross Capital Stock) National Accounts Office National Balance Sheet Section

7 National Accounts Office
ผลการวิเคราะห์ (Results) ภาพรวมสต็อกทุนและสต็อกทุนสุทธิ ปี 2545 มูลค่า ณ ราคาทุนทดแทน - สต็อกทุนเบื้องต้น ล้านล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 2.3 - สต็อกทุนสุทธิ ล้านล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 1.4 มูลค่า ณ ราคาคงที่ปี 2531 - สต็อกทุนเบื้องต้น ล้านล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 2.2 - สต็อกทุนสุทธิ ล้านล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 1.5 National Accounts Office National Balance Sheet Section

8 National Accounts Office
โครงสร้างสต็อกทุนสุทธิ ปี 2545 1. สต็อกทุนสุทธิภาคเอกชน (Private Sector) มีสัดส่วนร้อยละ 70.2 ของสต็อกทุนรวม สิ่งก่อสร้าง ร้อยละ 51.4 เครื่องจักรและอุปกรณ์ ร้อยละ 48.6 2. สต็อกทุนสุทธิภาครัฐ (Public Sector) มีสัดส่วนร้อยละ 29.8 ของสต็อกทุนรวม สิ่งก่อสร้าง ร้อยละ 83.5 เครื่องจักรและอุปกรณ์ ร้อยละ 16.5 National Accounts Office National Balance Sheet Section

9 National Accounts Office
สต็อกทุนสุทธิรายสาขาการผลิต สาขาที่มีมูลค่าสูงใน 5 อันดับแรกในปี 2545 สาขาที่อยู่อาศัย ล้านล้านบาท สาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสาร 1.8 ล้านล้านบาท 3. สาขาอุตสาหกรรม ล้านล้านบาท 4. สาขาบริการ 1.0 ล้านล้านบาท สาขาไฟฟ้าประปา 0.7 ล้านล้านบาท National Accounts Office National Balance Sheet Section

10 National Accounts Office
สต็อกทุนสุทธิรายสาขาการผลิต National Accounts Office National Balance Sheet Section

11 National Accounts Office
อัตราขยายตัวสต็อกทุนสุทธิในปี 2545 สาขาที่มีอัตราขยายตัวสูงที่สุด สาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสาร ขยายตัว ร้อยละ 3.6 สาขาที่มีอัตราขยายตัวต่ำที่สุด สาขาค้าส่งค้าปลีก ขยายตัวลดลงร้อยละ 0.5 ภาพรวม ขยายตัวร้อยละ 1.5 National Accounts Office National Balance Sheet Section

12 National Balance Sheet Section
อัตราขยายตัวของสต็อกทุนสุทธิ ช่วงก่อนวิกฤต ช่วงวิกฤต ช่วงหลังวิกฤต National Balance Sheet Section

13 National Accounts Office
ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ปัจจัยทุน Incremental Capital Output Ratio :ICOR Capital Productivity:CP Total Factor Productivity:TFP National Accounts Office National Balance Sheet Section

14 National Accounts Office
ICOR ภาพรวม ICOR ในปี 2545 มีค่า 0.9 เทียบกับ 1.7 ในปี 2544 แสดงให้เห็นว่าในปี 2545 ศักยภาพการลงทุนในระบบเศรษฐกิจมีศักยภาพดีกว่าการลงทุนในปี 2544 จำแนกรายสาขาในปี 2545 สาขาที่มีค่า ICOR มากกว่า 1 คือ สาขาไฟฟ้าประปา สาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสาร (เป็นสาขาที่มีปัจจัยทุนสูงเนื่องจากเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ให้บริการแก่สาธารณะ ดังนั้นจำเป็นต้องใช้เงินลงทุนมากและเป็นโครงการระยะยาวกว่าจะคืนทุน รวมทั้งเป็นส่วนที่ไม่ก่อให้เกิดผลผลิตต่อส่วนรวมมากนัก) สาขาที่อยู่อาศัยและสาขาเกษตรกรรม National Accounts Office National Balance Sheet Section

15 เปรียบเทียบ ICOR และ GDP Growth
National Balance Sheet Section

16 National Accounts Office
Capital Productivity ภาพรวม (Capital productivity) ในปี 2545 มีค่าเท่ากับ 0.34 เทียบกับ 0.33 ในปี 2544 มีแนวโน้มดีขึ้นเล็กน้อยภายหลังจากที่ผลิตภาพทุนมีแนวโน้มลดลงโดยตลอดตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา และต่ำที่สุดในปี 2541 ผลิตภาพทุนรายสาขา ในปี 2545 สาขาที่มีแนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นจากปี 2544 คือ สาขาเหมืองแร่และย่อยหิน สาขาอุตสาหกรรม สาขาก่อสร้าง สาขาคมนาคมขนส่งและสื่อสาร สาขาค้าส่งค้าปลีก สาขาธนาคาร ประกันภัยและอสังหาริมทรัพย์ สาขาบริหารราชการแผ่นดินและสาขาบริการ National Accounts Office National Balance Sheet Section

17 National Accounts Office
กรณีปรับอัตราการใช้กำลังการผลิต Capital Utilization ผลิตภาพทุน 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 สาขาอุตสาหกรรม ก่อนปรับ 0.72 0.68 0.60 0.75 หลังปรับ 1.0 1.05 1.14 1.11 1.28 1.34 1.25 ภาพรวม 0.37 0.34 0.30 0.32 0.33 0.39 0.35 0.36 National Accounts Office National Balance Sheet Section

18 National Accounts Office
Total Factor Productivity ภาพรวมในช่วงปี 2525 –2545 ค่า TFP เฉลี่ย ต่อปี พิจารณาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 – ปีแรกฉบับ ที่ 9 มีอัตราขยายตัวเฉลี่ยเพียงร้อยละ 0.28 ต่อปี โดยช่วงแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 6 ค่า TFP ของ ประเทศดีที่สุด TFP มีค่าขยายตัวร้อยละ 2.38 ต่อ ปี ในขณะที่ช่วงแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 8 เป็นช่วงที่ ค่า TFP ของประเทศต่ำที่สุด คือ มีอัตราโดยเฉลี่ย ลดลงร้อยละ 1.77 ต่อปี อย่างไรก็ตามในช่วงปี แรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 คือ ปี 2545 ค่า TFP ปรับตัวดีขึ้นโดยมีอัตราขยายตัวร้อยละ ต่อปี National Accounts Office National Balance Sheet Section

19 National Balance Sheet Section
TFP ปี แผนฯ5 ( ) แผนฯ6 ( ) แผนฯ7 ( ) แผนฯ8 ( ) แผนฯ9 (2545) เฉลี่ย ( ) เกษตร 1.18 1.36 -3.37 -1.30 0.13 -0.50 อุตสาหกรรม -0.15 1.35 0.44 0.04 4.74 0.62 บริการและอื่นๆ -0.86 1.61 -1.68 -3.83 2.86 -1.00 ภาพรวม -0.10 2.38 -0.03 -1.77 3.38 0.28 National Balance Sheet Section

20 ภาพรวม Total Factor Productivity
% ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 6 0.28% เฉลี่ยปี แผนฯ 8 แผนฯ 5 แผนฯ 7 National Balance Sheet Section

21 TFP สาขาเกษตรกรรม % -0.50% แผนฯ 6 เฉลี่ยปี 2525-2545 แผนฯ 8 แผนฯ 5
ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 7 National Balance Sheet Section

22 TFP สาขานอกภาคเกษตรกรรม
% ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 6 -0.14% แผนฯ 7 เฉลี่ยปี แผนฯ 5 แผนฯ 8 National Balance Sheet Section

23 TFP สาขาอุตสาหกรรม % 0.62% ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 6 เฉลี่ยปี 2525-2545
แผนฯ 7 แผนฯ 8 แผนฯ 5 National Balance Sheet Section

24 TFP สาขาบริการและอื่นๆ
% ปีแรกแผนฯ 9 แผนฯ 6 -1.00% แผนฯ 7 เฉลี่ยปี แผนฯ 5 แผนฯ 8 National Balance Sheet Section


ดาวน์โหลด ppt สต็อกทุนของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google