Hardware ส่วนที่จับต้องได้ บทที่ 4 Hardware ส่วนที่จับต้องได้
หัวข้อบทเรียนที่ 1 ฮาร์ดแวร์คืออะไร โครงสร้างของระบบฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า อุปกรณ์ประมวลผล อุปกรณ์เก็บข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล
หัวข้อบทเรียนที่ 1 7. เมนบอร์ด (Main Board) 8. ข้อกำหนดและการเลือกซื้อฮาร์ดแวร์
Hardware ส่วนที่จับต้องได้
โครงสร้างของระบบฮาร์ดแวร์ PROCESSING INPUT OUTPUT STORAGE โครงสร้างของระบบฮาร์ดแวร์
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Buit-in Keyboard
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Ergonomic Keyboard
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Cordless Keyboard
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Portable Keyboard
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Virtual Keyboard
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Mechanical Mouse
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Optical Mouse
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Point Stick Trackball Touch Pad Mouse
Keyboard & Mouse พิมพ์ป้อนข้อมูล & เลื่อน/คลิก บนหน้าจอ Stylus Microphone Digital Camera Touch Screen Joystick Light Pen Digital Video Camera Web Cam Scanner
CPU ตัวชิป CPU –Central Processing Unit หรือหน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานและประมวลผลข้อมูล ความเร็ว CPU ขึ้นกับรุ่นและสถาปัตยกรรมที่ออกแบบ หน่วยวัดความเร็วของซีพียูที่พบในปัจจุบัน เช่น Megahertz (MHz) หรือ Gigahertz (GHz) การเลือกซีพียูในปัจจุบันมีให้เลือก ยี่ห้อของอินเทล มีตระกูลเพนเทียมโฟร์ และ Celeron ยี่ห้อเอเอ็มดี มีตระกูล Athlon ThunderBird, Duron และK6 ยี่ห้อไซริก มีตระกูล Cyrix MII และ Cyrix MIII
CPU ตัวชิป
ROM (Read-Only Memory) เป็นหน่วยความจำที่ไม่จำเป็นต้องใช้ กระแสไฟเลี้ยง ส่วนใหญ่จะอ่านข้อมูลได้อย่าง เดียวและติดตั้งไว้เพื่อเก็บโปรแกรมประจำเครื่อง เช่นโปรแกรมที่ใช้ตรวจสอบความพร้อมในการ ทำงานเรียกว่า Basic Input Output System(BIOS) ซึ่งจะมีการใส่ชุดคำสั่งไว้ ใน ROM อย่างถาวรมาแล้วตั้งแต่ในกระบวน การผลิต เรียกชุดคำสั่งประเภทนี้ว่า Firmware
RAM (Random Access Memory)
HARD DISKS
HARD DISKS ความจุของฮาร์ดิสก์ (ไบต์) = 0.5*Cylenders*จำนวนหัวอ่าน*Sectors เมื่อจำนวน ไบต์เพิ่มขึ้นสามารถแทนด้วยหน่วยต่างๆ ดังนี้ 1 กิโลไบต์ (Kilobyte) = 1,024 ไบต์ 1 เมกะไบต์ (Megabyte) = 1,048,576 ไบต์ 1 กิกะไบต์ (Gigabyte) = 1,073,741,824 ไบต์ 1 เทราไบต์ (Terabyte) = 1,099,511 ล้านไบต์
Floppy Disk ช่องเสียบแผ่นดิสก์
CD-ROM เครื่องอ่าน/เขียน แผ่นซีดี
Flash Memory Device หน่วยความจำแบบแฟลช มีชื่อเรียกแตกต่างกันเช่น Flash Drive หรือ Thumb Drive หรือ Handy Drive
Main Board แผงควบคุมระบบ
Monitor จอภาพ
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เครื่องพิมพ์ (Printer) Dot matrix Printer รายการเอกสารที่เป็นสำเนา (Copy) รายการเอกสารที่เป็นกระดาษต่อเนื่อง เหมาะกับการพิมพ์เอกสารประเภทใบเสร็จ ใบส่งของ ใบกำกับภาษี
Laser Printer ภาพละเอียดและความเร็วสูง พิมพ์ได้ทีละ 1 แผ่น
Ink-jet Printer เช่น พิมพ์ภาพถ่าย โปสการ์ด ปฏิทิน
Plotter เช่น พิมพ์ภาพโฆษณา แผนที่ แบบแปลน
กำหนดสเป็คเครื่องที่ต้องการ ตรวจสภาพก่อนออกจากร้าน หลักการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำรวจระดับการใช้งาน กำหนดสเป็คเครื่องที่ต้องการ สำรวจราคาเครื่อง บริการหลังการขาย ตรวจสภาพก่อนออกจากร้าน
สำรวจระดับการใช้งานคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้มือใหม่ ผู้ใช้งานในออฟฟิศ นักศึกษามหาวิทยาลัย ผู้ใช้งาน Windows Vista ผู้ใช้งานระดับสูง
การเลือกซื้อเครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ : ใช้พิมพ์งานเอกสาร มีความละเอียดมากที่สุด และความเร็วสูงสุดในบรรดาเครื่องพิมพ์ทั้งหลายมากที่สุด มี 2 แบบ คือแบบขาว/ดำ เหมาะสำหรับงานพิมพ์ในสำนักงาน และแบบสี สำหรับงานพิมพ์ขั้นสูง เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ต : ใช้พิมพ์งานสี มีความละเอียดน้อยกว่าเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ ราคาเครื่องถูก แต่หมึกพิมพ์แพง เหมาะสำหรับงานสี อาร์ตเวิร์ค สิ่งพิมพ์ และรูปถ่าย สติกเกอร์ หากจะใช้งานพิมพ์ขาว/ดำ ราคาหมึกต่อแผ่นจะสู้เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ไม่ได้ เครื่องพิมพ์ดอตเมทริกซ์ : มีความละเอียดต่ำราคาหมึกถูก แต่พิมพ์ช้า เสียงดังปัจจุบันถูกนำมาใช้แค่การพิมพ์กระดาษไขสำหรับงานโรเนียว หรือพิมพ์โดยซ้อนกระดาษคาร์บอนเท่านั้น
แบบฝึกหัดท้ายบท คีย์บอร์ดแบบเออร์โกโนมิกส์ ช่วยลดปัญหาในการทำงานกับคอมพิวเตอร์ได้อย่างไร จงยกตัวอย่างประกอบ หน่วยเก็บข้อมูลสำรองแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง จงยกตัวอย่างมาประเภทละ 2 รายการ