E-learning : Failure Analysis using Vibration นายนิธิพนธ์ คุ้มเที่ยง รหัสนิสิต 50361514 นายปิยะกุล ผลมา รหัสนิสิต 50364102 นายอัฐพล ยั่งยืน รหัสนิสิต 50364379 ผู้ทำโครงงาน อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.ภาณุ พุทธวงศ์
เพื่อให้ได้สื่อการสอนการวิเคราะห์ความเสียหายด้วยการสั่นสะเทือนเพื่อเป็น ทางเลือกทางการศึกษาแก่ผู้เรียนหรือเป็นการขยายโอกาสแก่ผู้เรียนได้มีอุปกรณ์ การเรียนรู้ที่สามารถศึกษาด้วยตนเอง
1.สร้างสื่อการสอนอิเลคทรอนิกส์ เรื่องการวิเคราะห์ความเสียหายด้วยการสั่นสะเทือน 2.ทดสอบความพึงพอใจของผู้ใช้งาน
ได้สื่อการสอนอิเลคทรอนิกส์ เรื่องการวิเคราะห์ความเสียหายด้วยการ สั่นสะเทือน ผู้ศึกษามีความรู้การวิเคราะห์ความเสียหายของเครื่องจักรด้วยการวัดและ วิเคราะห์การสั่นสะเทือนอันเป็นสาเหตุของการผิดปกติของเครื่องจักร ผู้ศึกษามีความรู้เบื้องต้นในการเลือกใช้อุปกรณ์วัดขนาดการสั่นสะเทือน ผู้ศึกษามีความรู้เบื้องต้นในการใช้อุปกรณ์และตำแหน่งของวัดขนาดการสั่น สั่นสะเทือน ผู้ศึกษาสามารถวางแผนการตรวจวัดและวิเคราะห์การสั่นสะเทือนให้เป็นไปตาม มาตรฐานการวิเคราะห์ความรุนแรงการสั่นสะเทือน
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง E-learning หมายถึง รูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม่ ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่อ อิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ มีวัตถุประสงค์ที่เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้องค์ ความรู้ (knowledge) ได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ (Anywhere-Anytime Learning) เพื่อให้ระบบการเรียนการสอนเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของกระบวนวิชาที่เรียนนั้นๆ
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง E-learning 1. รูปแบบการเรียนการสอนในลักษณะซิงโครนัส (Synchronous Learning methods) 2. การนำเสนอในลักษณะอะซิงโครนัส(Asynchronous Learning methods)
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง E-learning
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง Vibration การวัดและวิเคราะห์การสั่นสะเทือน
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง Vibration ขนาดการสั่นสะเทือน ระยะทางการสั่นสะเทือน ความเร็วการสั่นสะเทือน ความเร่งการสั่นสะเทือน ความถี่ คาบ เฟส T
การวัดค่าการสั่นสะเทือน ค่าสูงสุด (Peak) ค่าสูงสุดบนถึงต่ำสุดล่าง (Peak to Peak) ค่าเฉลี่ย RMS อัตราส่วนพีค (Peak ratio) ค่าเฉลี่ย (Average) ค่า Form factor ค่าการสั่นสะเทือนโดยรวม
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง Vibration เครื่องมือวัดการสั่นสะเทือน
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง Vibration ทิศทางการตรวจวัด การสั่นสะเทือนบนเครื่องจักร 1.แนวดิ่ง(Vertical,V) 2.แนวราบ(Horizontal,H) 3.แนวแกนเพลา(Axial,A) V H A
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง Vibration เกณฑ์การวิเคราะห์ การตัดสินใจซ่อมและแก้ไขปัญหา 1.วิเคราะห์จากแนวโน้ม 2.ใช้เกณฑ์กำหนดจากผู้ผลิตเครื่องจักร 3.เปรียบเทียบกับเครื่องจักรเหมือนกัน 4.เกณฑ์กำหนดจากมาตรฐานสากล