รายงานการวิจัยในชั้นเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
นำเสนอหนังสือวิชาการ
โดย รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ผู้วิจัย นายไพบูลย์ ว่องวารี
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
กราฟเบื้องต้น.
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
สัมมนาบุคลากรสายปฏิบัติการ ประจำปี 2554 วันที่ กันยายน 2554 เวลา – น. ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ ต. บ้านหลวง อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.

โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย

นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
รายงานผลการวิจัย.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
ผู้วิจัย : นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติ ด้านความรับผิดชอบของผู้เรียน.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
การพัฒนาการอ่านออกเสียงควบกล้ำ โดยใช้แบบฝึกการอ่านตัว ร, ล, ว ควบกล้ำ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 3 นายคมสัน ชัยรัตน์
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการใช้ภาษาอังกฤษ ในการนำเสนอผลงานในวิชาสัมมนา 2 (352497) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.รุจ ศิริสัญลักษณ์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร

ประเด็น ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 1.ท่านเห็นว่าภาษาอังกฤษมีความสำคัญในการประกอบอาชีพในอนาคตเพียงใด 15 คน 68.2 % 7 คน 31.8 % 4.68 0.477 2. เมื่อผู้สอนแจ้งให้ทราบว่าจะต้องนำเสนอการสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษท่านคิดว่าเป็นสิ่งที่ยากเพียงใด 3 คน 13.6 % 9 คน 40.9 % 1 คน 4.5 % 3.64 0.789 3.ก่อนการนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษท่านมีความวิตกกังวลระดับใด 10 คน 45.5 % 3.68 0.716 4. การจัดฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษในการสัมมนามีส่วนช่วยให้ท่านสามารถนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษได้มากน้อยเพียงใด 3.50 0.673 5. ข้อแนะนำของอาจารย์ผู้ควบคุมการสัมมนามีส่วนช่วยให้ท่านนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษได้มากน้อยเพียงใด 5 คน 22.7 % 16 คน 72.7 % 4.18 0.501

ประเด็น ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 6.เมื่อนักศึกษาคนแรกนำเสนอการสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษและได้รับการแนะนำแก้ไขจากอาจารย์ผู้สอนสัมมนาท่านมีความเชื่อมั่นเพียงใดว่าตนสามารถนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษได้ 2 คน 9.1 % 10 คน 45.5 % 3.64 0.658 7.การให้นักศึกษานำเสนอเป็นภาษาอังกฤษตามความสามารถ โดยไม่กดดันและช่วยแก้ไขให้ถูกต้องโดยการให้กำลังใจ ท่านคิดว่าเป็นสิ่งที่ทำให้ท่านมั่นใจว่าจะนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษได้เพียงใด 12 คน 54.5 % 6 คน 27.3 % 4 คน 18.2 % 4.36 0.789 8. การกระตุ้นให้นักศึกษาซักถามเป็นภาษาอังกฤษมีประโยชน์เพียงใด ในการฝึกให้ท่านใช้ภาษาอังกฤษ 13 คน 59.1 % 3 คน 13.6 % 4.14 0.639 9. หลังจากท่านได้นำเสนอเป็นภาษาอังกฤษแล้ว ท่านเห็นว่าท่านสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษดีขึ้นมากน้อยเพียงใด 15 คน 68.2 % 1 คน 4.5 % 3.32 0.716 ป่านกลาง 10. ท่านเห็นด้วยในระดับใดว่า ถ้าท่านได้ฝึกทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษบ่อยครั้งจะทำให้ท่านติดต่อสื่อสารกับผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ 8 คน 36.4 % 14 คน 63.6 % 0.492

ประเด็น ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 11. ท่านเห็นด้วยเพียงใดที่คณะเกษตรศาสตร์ให้นักศึกษานำเสนอการสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา 9 คน 40.9 % 8 คน 36.4 % 4 คน 18.2 % 1 คน 4.5 % 4.14 0.888 12. ท่านเห็นด้วยเพียงใดว่าบัณฑิตเกษตรศาสตร์ มช. ควรสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้ 12 คน 54.5 % 2 คน 9.1 % 4.27 0.631 13. ท่านมีความภาคภูมิใจเพียงใดที่เป็นนักศึกษารุ่นแรกของสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรที่นำเสนอการสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษ 14 คน 63.4 % 4.45 0.800 14. ท่านเห็นด้วยเพียงใดว่านักศึกษารุ่นต่อไปควรจะนำเสนอการสัมมนาเป็นภาษาอังกฤษเหมือนกับท่าน 19 คน 86.4 % 3 คน 13.6 % 4.86 0.351 15. จากประสบการณ์การใช้ภาษาอังกฤษในวิชาสัมมนา 2 ครั้งนี้ ท่านคิดว่าเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษของท่านในอนาคตได้เพียงใด 40.99 % 4.50 0.598

ตารางที่ 2 ปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษ ตารางที่ 2 ปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษ ประเด็น จำนวน ร้อยละ - ไม่กล้าพูด อายกลัวพูดผิด กลัวตอบคำถามยากๆ ไม่ได้ 2 9.1 - คำศัพท์ยาก ไม่สามารถใช้ศัพท์ได้ตามที่ต้องการจะสื่อสาร 5 22.7 การแต่งประโยคให้เป็นภาษาอังกฤษต้องใช้เวลานาน 12 54.5 - การออกเสียง สำเนียงภาษาอังกฤษ * หมายเหตุ ตอบได้หลายข้อ

ตารางที่ 3 ข้อเสนอแนะสำหรับนักศึกษารุ่นต่อไป n =22 ประเด็น จำนวน ร้อยละ อยากได้รูปแบบหรือโครงสร้างประโยคที่ชัดเจนและมากกว่านี้ 3 13.6 - ควรมีอาจารย์ชาวต่างชาติคอยแนะนำหรือแก้ไขทั้งก่อนและหลังการนำเสนอ 2 9.1 - ควรมีการอบรมเฉพาะในภาควิชาฯ เพราะจะได้กล้าถาม 5 22.7 - ควรมีการอบรมการใช้ภาษาอังกฤษให้มากกว่านี้ (ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1) 6 27.3 - ควรมีการนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษแต่เพียงอย่างเดียว ถ้าไม่เข้าใจให้ถามเป็นภาษาไทย ควรมีกฎกติกาที่ชัดเจนกว่านี้และใช้ให้เท่าเทียมกัน