“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
Advertisements

โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
พลังชุมชนสู่การฟื้นฟู Community Resilience for Community Recovery
การแต่งกายของนักเรียน
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
1. ความสัมพันธ์ของบุคคล (1) สมาชิก (2) คณะกรรมการ ดำเนินงาน (3) เจ้าหน้าที่ 1. ความสัมพันธ์ของบุคคล (1) สมาชิก (2) คณะกรรมการ ดำเนินงาน (3) เจ้าหน้าที่
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แนวทางการดำเนินงานของ สถานศึกษาในการขอรับการ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา จากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ข้อมูลทำเนียบศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุของแต่ละจังหวัด ประกอบด้วย
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ” เสนอโดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุ กระทรวง พม.สนับสนุน 1) งบประมาณเริ่มต้น 2) งานวิชาการ 3) บุคลากรเป็นพี่เลี้ยงกำกับดูแลงาน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ หน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น กลุ่มองค์กรอื่นๆ กิจกรรมในศูนย์ 1. ส่งเสริมสุขภาพอนามัย : จัดให้มีมุมออกกำลังกาย และการให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาสุขภาพ 2. สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ : จัดให้มีมุมบริการข่าวสาร ความรู้ ด้านสุขภาพ ด้านกฎหมาย ด้านการศึกษา ฯลฯ และให้มีมุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้สูงอายุ 3. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมด้านอาชีพ : จัดให้มีการฝึกอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ และมุมจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 4. ส่งเสริมการผลิต การจำหน่ายผลิตภัณฑ์และการรับงาน ไปทำที่บ้าน 5. การถ่ายทอดวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. กิจกรรมนันทนาการ ศาสนา ประเพณี 7. จัดให้มีระบบฐานข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่ 8. ให้มีบริการให้คำปรึกษาตามความต้องการของผู้สูงอายุ 9. เป็นศูนย์ประสานงานอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมนอกศูนย์ 1. การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ 2. การเยี่ยมผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย 3. ให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เดือดร้อน 4. การถ่ายทอดภูมิปัญญา 5. จิตอาสา 6. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัย    ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ คณะกรรมการศูนย์    ชมรมผู้สูงอายุ  สมาชิกและอาสาสมัคร 2

ผู้สูงวัย กายใจเบิกบาน” แนวคิดในการจัดตั้งศูนย์ฯ “ ร่วมแรง ร่วมใจ ผู้สูงวัย กายใจเบิกบาน” วัตถุประสงค์การจัดตั้งศูนย์ฯ 1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสถานที่ ในการจัดกิจกรรมและบริการ สำหรับผู้สูงอายุ 3. เพื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมอาชีพและการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับ การพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม 5. เพื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ

ข้อกำหนดของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1. ด้านอาคารสถานที่ 2. การบริหารจัดการ ภายในศูนย์ฯ 3. กิจกรรมในศูนย์ฯ 1. จัดการประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ 2. จัดประชุมชมรมผู้สูงอายุ 3. จัดกิจกรรมด้านสังคม และอาชีพ 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 5. จัดกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ตาม ความต้องการของผู้สูงอายุ ปรับปรุงอาคารที่มีอยู่เดิม /ขยายพื้นที่เพื่อจัดให้มีมุมกิจกรรมต่างๆ และจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ เช่น ติดตั้งราวจับในห้องน้ำ ทางลาดบริเวณทางเข้าอาคาร เป็นต้น จัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานและการบริหารจัดการศูนย์ 1. การบริหารจัดการศูนย์ฯ - ให้มีคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ โดยประธานศูนย์ต้องเป็นผู้แทนชมรมผู้สูงอายุ - ชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการฯและสมาชิก - มีระเบียบกฎเกณฑ์การดำเนินงานศูนย์ - อปท.จัดหาบุคลากรประจำศูนย์ฯ อย่างน้อย 1 คน - มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่ - มีแผนงานในการจัดกิจกรรม 2. การบริหารการเงินของศูนย์ - รายได้จากการประสานแหล่งเงินทุนสนับสนุนการดำเนินงาน - รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของศูนย์

ขั้นตอนการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1. จัดหาสถานที่ตั้งศูนย์ฯ (จัดหาอาคารใหม่ หรือปรับปรุงอาคารเดิมที่มีอยู่แล้ว) 2. จัดประชุมชี้แจงในระดับชุมชน เพื่อร่วมกันจัดตั้งศูนย์ โดยเป็นไปตามความต้องการของผู้สูงอายุ 3. จัดหาสมาชิกจากชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ 4. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารฯ โดยประธานต้องเป็นผู้แทนชมรมผู้สูงอายุและจัดทำระเบียบ กฎเกณฑ์ของศูนย์ 5. จัดตั้งศูนย์ฯ และดำเนินกิจกรรม 6. ติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ

เป้าหมาย / งบประมาณดำเนินการ ปีงบประมาณ พื้นที่ดำเนินการ (อปท.) ปี 2556 99 แห่ง (ใช้ศูนย์ฯ ของ พม. ที่มีอยู่แล้ว) ปี 2557 878 (อำเภอละ 1 แห่ง) ปี 2558 3,050 ปี 2559 3,926 รวมปี 2557-2559 7,853