การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management) บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management) สินค้าคงคลัง = ! สินค้า หรือ วัสดุต่าง ๆ ที่ธุรกิจจะต้องมีไว้เพื่อการดำเนินงานตามปกติ ส่งผลให้ : กิจการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ กำหนดขนาดของการผลิตที่ประหยัด สามารถให้บริการลูกค้าตามที่ลูกค้าต้องการ
วัตถุประสงค์การบริหารสินค้าคงคลัง 1. When ? ควรสั่งซื้อ หรือสั่งผลิตสินค้าเมื่อใด 2. How much ? ควรสั่งซื้อ หรือสั่งผลิตสินค้าจำนวนเท่าใด จึงจะเกิดการประหยัด
ประเภทของสินค้าคงคลัง แบ่งได้ 4 ประเภท……. 1. สินค้าคงคลังประเภทเบ็ดเตล็ด 2. สินค้าคงคลังประเภทวัตถุดิบและอะไหล่ 3. สินค้าคงคลังประเภทกึ่งสำเร็จรูป 4. สินค้าคงคลังประเภทสำเร็จรูป
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง แบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ …. 1. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (ordering cost) 2. ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้า (carrying cost) 3. ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน (out of stock cost)
I. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ / สั่งผลิต (ordering cost / procurement) ค่าใช้จ่ายในการให้ได้มาซึ่งสินค้า ลักษณะ : เกิดทุกครั้งเมื่อมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต มีจำนวนคงที่ (fixed cost) (ไม่ว่าจะซื้อครั้งละจำนวนมากหรือน้อยก็ตาม) ไม่แปรผันไปตามจำนวนของสินค้า แต่จะแปรผันไป ตามจำนวนครั้งที่สั่งซื้อหรือสั่งผลิต
ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการสั่งผลิต - ค่าใช้จ่ายในการเตรียมเอกสาร ค่าใช้จ่ายในการตรวจรับของ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการชำระเงิน ฯลฯ ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการผลิต ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าใช้จ่ายในการว่าจ้าง การฝึกหัด และการปลดออก ค่าเสื่อมราคา ฯลฯ
II. ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้า (carrying cost) ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีสินค้าคงเหลือไว้ในมือ ลักษณะ : แปรผันไปตามปริมาณของสินค้า เช่น ค่าของทุน ค่าขนย้ายและเก็บรักษา ค่าสินค้า- ชำรุด ค่าประกันภัย การล้าสมัย ภาษี ราคาสินค้า เปลี่ยนแปลง เป็นต้น
III. ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน (out of stock cost) เกิดจาก : วัตถุดิบไม่พอแก่การผลิต หรือขาย สินค้าสำเร็จรูปมีไม่พอขาย ส่งผลให้ : สายการผลิตหยุดชงัก เครื่องจักรเกิดการว่างงาน
ค่าใช้จ่าย (บาท) P P ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต และค่าใช้จ่ายสินค้าขาดแคลน ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา Q Q ขนาดของการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต (หน่วย)
ความสัมพันธ์ของต้นทุนระบบสินค้าคงเหลือกับปริมาณการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่าย (บาท) ค่าใช้จ่ายรวม P ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ค่าใช้จ่ายสินค้าขาดแคลน ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต Q ขนาดของการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต (หน่วย) ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด ( Q*)
ต้นทุนรวม (Total Cost) ต้นทุนสินค้าคงเหลือ + คชจ. การสั่งซื้อหรือสั่งผลิต + คชจ. การเก็บรักษา + คชจ. ความขาดแคลนสินค้า ต้นทุนรวม = คชจ. การสั่งซื้อหรือสั่งผลิต + คชจ. การเก็บรักษา TC = TOC + TCC
ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity : EOQ , Q*) เป็นการพิจารณาว่า กิจการควรสั่งซื้อครั้งละเท่าใดจึงจะ เหมาะสมที่สุด / มีต้นทุนรวมต่ำที่สุด
S = จำนวนสินค้าที่ต้องการในระยะเวลาหนึ่ง O = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ต่อครั้ง C = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ต่อหน่วย ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด ( EOQ , Q*) = 2SO / C สินค้าคงเหลือถัวเฉลี่ย = Q / 2 จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ (N) = S / Q คชจ. การสั่งซื้อ (OC) = SO / Q คชจ. การเก็บรักษา (CC) = QC / 2 Ex. P.156
ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง 1. ช่วยให้การผลิตดำเนินต่อไปได้ 2. ช่วยป้องกันความผิดพลาด อันเกิดจากความต้องการสินค้า มีมากกว่าการพยากรณ์ไว้ 3. ช่วยให้การผลิตสินค้ายืดหยุ่นได้ ไม่ต้องเร่งการผลิต 4. ช่วยป้องกันการขาดแคลนวัตถุดิบ 5. เพื่อประโยชน์ในการสั่งซื้อ หรือสั่งผลิตสินค้าขนาดที่ประหยัด (คชจ.ในการสั่งซื้อต่ำสุด)