การจัดภารกิจ - โครงสร้างองค์กร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
กลุ่ม อินทนนท์.
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2545
โครงการชลประทานหนองคาย
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
มติ ครม.19 มิถุนายน 2550 เห็นชอบ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดภารกิจ - โครงสร้างองค์กร แนวคิด การจัดภารกิจ - โครงสร้างองค์กร " ทบวงน้ำ " 23 มิถุนายน 2548

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มดิน/ที่ดิน กลุ่มน้ำ กลุ่มป่าและทะเล กลุ่มสิ่งแวดล้อม งานเรื่องการจดทะเบียน การจัดสรร การอนุญาต การใช้ประโยชน์ น้ำบาดาล น้ำผิวดิน การบริหารจัดการน้ำ ลุ่มน้ำ กลางน้ำ อ่างเก็บน้ำ เขื่อน ขายน้ำอบให้ประปา / เอกชน อุทยาน / ป่าไม้ รักษาและปลูกป่า จัดสรรป่า ( เช่น ป่าชุมชน ป่าเศรษฐกิจ ) สัตว์ป่าและพันธุ์พืช Biodiversity Quality น้ำ + น้ำเสีย Quality อากาศ Quality ขยะ ( waste management ) - ดิน - ตัวดิน - Land use - Ownership - Registration - บนดิน = ป่า - ใต้ดิน = ทรัพยากรธรณี ( รวมแผ่นดินไหว เหมืองแร่ ) การจัดแบบไม่เป็นกรมฯ จะบริหารคล่องตัวกว่า + กรมอุตุนิยมวิทยา แนวทางที่ 1 : ทบวง 4 ทบวง ตั้งกรมตามภูมิภาค ( ลุ่มน้ำ ) แนวทางที่ 2 : แบ่งตาม Functional Concept จัดสรร / ใช้ / อนุรักษ์ / ฟื้นฟู / มาตรฐาน / R&D ขอบเขตงาน : กระทรวงทรัพยากร ฯ รับผิดชอบงานในภาพ Macro / Provider / regulator ส่วนกระทรวงเกษตร ฯ จะเป็นผู้ใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต รวมทั้งกระบวนการที่ต่อท่อไปถึงการผลิตสินค้าเกษตร

ผังระบบงานของทบวงน้ำ ส่วนกลาง น้ำภาค น้ำจังหวัด นโยบาย • เลขานุการ/เสริมสร้างสมรรถนะ มอบอำนาจใน การอนุญาต และกำกับดูแล ตามกฎหมาย • รายงานผลการบริหาร • แผนปฏิบัติการ • โครงการ ปัญหา • ความต้องการ • โครงการ • ความร่วมมือ • กรณีขัดแย้ง • • แผนจัดสรรน้ำ • กติกาการจัดการน้ำ • ส่งเสริมการมีส่วนร่วม • กำกับดูแลการบริหารจัดการ • ป้องกัน/แก้ไขวิกฤติ และกรณีขัดแย้ง ร่างนโยบาย รายงานผล แผนงาน/โครงการ ผังระบบงานของทบวงน้ำ เลขานุการ กำกับ • แผนงาน บูรณาการ กำกับ ส่งเสริม วิชาการ • แผนปฏิบัติการ • พัฒนา อนุรักษ์ บริหาร • บริการ/ประสานแผน • อนุญาต/อนุมัติ • ปัญหา ความต้องการ ประสานงาน คณะกรรมการอื่นๆ (ด้านน้ำ) คณะกรรมการ ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ • ข้อมูล • แผนงาน คณะอนุกรรมการลุ่มน้ำ คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน ประชาชน ท้องถิ่น นโยบายและแผน • วิชาการ/เทคโนโลยี • กำกับ ตรวจสอบ • บริหารน้ำ • ระหว่างประเทศ •มอบอำนาจในการอนุญาตและกำกับดูแลตามกฎหมาย

แนวคิดผังโครงสร้างทบวงน้ำ รัฐวิสาหกิจ การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค องค์การจัดการน้ำเสีย สำนักงานปลัดทบวง ภารกิจ นโยบายและแผน สำนักงานนโยบายและแผนน้ำ ภารกิจวิชาการ กรมวิชาการน้ำ กรมวิชาการน้ำบาดาล ภารกิจบริการ ปฏิบัติการ และบริหาร ระบบลุ่มน้ำ กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 - 5 สำนักงานบริหารจัดการลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย และ ศูนย์บริหารจัดการน้ำ

ภารกิจของหน่วยงานส่วนกลาง สำนักงานปลัดทบวง ประสานงานการเมือง กำกับยุทธศาสตร์ทบวง บริหารระบบงานและทรัพยากรบุคคล บริหารงบประมาณและทรัพย์สิน เทคโนโลยีสารสนเทศ ประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ กฎหมาย กิจกรรมพิเศษ(ชป.+ โครงการน้ำบาดาลตามพระราชดำริ ) ศูนย์ข้อมูลและเตือนภัยด้านน้ำแห่งชาติ สำนักงานนโยบายและแผนน้ำ แผนยุทธศาสตร์น้ำแห่งชาติ วิเคราะห์แผนงานและงบประมาณด้านน้ำเชิงบูรณาการ ติดตามและประเมินผลเชิงบูรณาการ เลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กรมวิชาการน้ำ วิจัยและพัฒนา แผนงานและโครงการ สำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม วิชาการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งต้นน้ำและพื้นที่ชุ่มน้ำ ฝนหลวง มาตรฐานน้ำ วิชาการน้ำสะอาด สถาบันพัฒนาการบริหารจัดการน้ำ กรมวิชาการน้ำบาดาล วิจัยและพัฒนา แผนงานและโครงการ มาตรฐานน้ำบาดาล สำรวจ ประเมินศักยภาพ บริหารจัดการ อนุรักษ์และฟื้นฟู รวมทั้งควบคุม ดูแล กำกับ ประสาน ติดตาม ประเมินผล และ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำบาดาล พัฒนาวิชาการ พัฒนากฎหมายว่าด้วยน้ำบาดาล กำหนดมาตรฐาน

ภารกิจของหน่วยงานระดับภาค กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 – 5 ด้านวิศวกรรม ศึกษา สำรวจ ออกแบบ จัดหาที่ดิน วิจัยและทดลอง พัฒนาแหล่งน้ำ ปรับปรุงเฉพาะจุดและก่อสร้างคันคูน้ำ ขุดลอกและป้องกันตลิ่ง ซ่อมแซมและบริหารความมั่นคงปลอดภัยของแหล่งน้ำ ศูนย์เครื่องจักรกลและขนส่ง ด้านบริหารจัดการน้ำ เพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม คมนาคม ไฟฟ้าพลังน้ำ ผลักดันน้ำเค็ม อุปโภคบริโภค recycleน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ ส่งน้ำและบำรุงรักษา บริหารจัดการน้ำบาดาล พัฒนาน้ำบาดาล จัดการน้ำเสีย งานอุทกวิทยา เตือนภัยและป้องกันอุบัติภัยที่เกิดจากน้ำ ผันน้ำ ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ด้านนิเวศ อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งต้นน้ำและพื้นที่ชุ่มน้ำ รักษาระบบนิเวศของลำน้ำ เฝ้าระวังและปรับปรุงคุณภาพน้ำ ด้านมวลชนสัมพันธ์ เสริมสร้างขีดความสามารถ และประสานงานองค์กรลุ่มน้ำ กลุ่มผู้ใช้น้ำ และเอกชน ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์

ภารกิจของหน่วยงานระดับจังหวัด สำนักงานบริหารจัดการลุ่มน้ำสาขา / ลุ่มน้ำย่อย ( ชป. + ทน. + ทบ. + บางส่วนของ คพ. ) แผนยุทธศาสตร์น้ำของจังหวัด ( ประสานงานและร่วมพิจารณาความเหมาะสมของโครงการเบื้องต้น ) ประสานการดำเนินงานกับจังหวัด สนับสนุนกิจกรรมของท้องถิ่น และคณะอนุกรรมการ ลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย ศูนย์บริการประชาชน ( Call Center ) ศูนย์ข้อมูลและเตือนภัยด้านน้ำของจังหวัด ดูแล บำรุงรักษา ปรับปรุงโครงการชลประทานขนาดกลาง ควบคุม กำกับดูแลมาตรฐานและคุณภาพน้ำ จัดสรรน้ำในพื้นที่ อนุมัติ อนุญาต ตามกฎหมาย อนุมัติ อนุญาต ยกเลิก และอุดกลบบ่อน้ำบาดาล จัดเก็บค่าน้ำ

ภารกิจด้านน้ำของ อปท. เทศบาล , อบต. , อบจ. ดูแล บำรุงรักษา ปรับปรุงโครงการชลประทานขนาดเล็ก ดูแลรักษาทางน้ำชลประทานประเภท 2 ดูแลปรับปรุงโครงการชลประทานระบบท่อ บำรุงรักษาทางชลประทาน ขุดลอกหนองน้ำและคลองธรรมชาติ จัดสรรน้ำในระดับแปลงนาหรือคันคูน้ำ สูบน้ำนอกเขตชลประทาน บริหารจัดการโรงสูบน้ำด้วยไฟฟ้าและระบบส่งน้ำ จัดหา พัฒนาน้ำสะอาด และบำรุงรักษาแหล่งน้ำสะอาด บำบัดน้ำเสียชุมชน งานจัดหาน้ำ เจาะบ่อบาดาลพร้อมติดตั้งสูบมือโยก (ในส่วนของบ่อน้ำบาดาล ขนาดไม่น้อยกว่า 4 นิ้ว พร้อมติดตั้งสูบมือโยกได้ถ่ายโอนไปแล้ว) เร่งรัดขยายระบบประปาชนบท

สำนักงานรัฐมนตรี โครงสร้างภายใน งานบริหารทั่วไป กลุ่มประสานงานการเมือง กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ

สำนักงานปลัดทบวง โครงสร้างภายใน สำนักบริหารกลาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์ข้อมูลและเตือนภัยด้านน้ำแห่งชาติ ??? สำนักการคลังและบัญชี ( รวมพัสดุ ) สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล สำนักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักกฎหมาย สำนักกิจกรรมพิเศษ ( โครงการพระราชดำริ ) กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

สำนักงานนโยบายและแผนน้ำ โครงสร้างภายใน สำนักงานนโยบายและแผนน้ำ สำนักบริหารกลาง ( สำนักงานเลขานุการกรม ) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักแผนยุทธศาสตร์ (+ วิเคราะห์งบประมาณ) สำนักประสานแผนพัฒนาแหล่งน้ำ สำนักติดตามและประเมินผล สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ

กรมวิชาการน้ำ โครงสร้างภายใน สำนักบริหารกลาง ( สำนักงานเลขานุการกรม ) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิจัยและพัฒนา (+ ตรวจวัดคุณภาพน้ำ) สำนักอุทกวิทยาและบริหารจัดการน้ำ สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สำนักอนุรักษ์แหล่งน้ำ สำนักวิชาการน้ำสะอาด สถาบันพัฒนาบริหารจัดการน้ำ

กรมวิชาการน้ำบาดาล โครงสร้างภายใน สำนักบริหารงานกลาง ( สำนักงานเลขานุการกรม ) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิจัยและพัฒนา สำนักควบคุมกิจการน้ำบาดาล สำนักสำรวจและแผนที่น้ำบาดาล สำนักประเมินศักยภาพน้ำบาดาล สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูน้ำบาดาล สำนักวิเคราะห์น้ำบาดาล สำนักวิศวกรรมน้ำบาดาล

กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 – 5 โครงสร้างภายใน กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1 – 5 สำนักบริหารกลาง ( สำนักงานเลขานุการกรม ) สำนักวิศวกรรมและสำรวจ สำนักแผนและโครงการ สำนักก่อสร้าง ( ชคส. , ชคน. , ผสญ. , ฝจม. ) สำนักจัดการน้ำบาดาล สำนักพัฒนาน้ำบาดาล สำนักพัฒนาน้ำสะอาด สำนักส่งเสริมและประสานมวลชน สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำและฟื้นที่ชุ่มน้ำ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ศูนย์อุทกวิทยา ศูนย์ข้อมูลและเตือนภัยด้านน้ำ ศูนย์เครื่องจักรกลและขนส่ง ( กองโรงงาน สังกัด ภาค 1 ) สำนักบริหารจัดการลุ่มน้ำ / ตามจำนวนลุ่มน้ำ ( ผู้จัดการลุ่มน้ำ , สำนักงานบริหารจัดการลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย , ศูนย์บริหารจัดการน้ำ )

ภาค 1 มี 10 ลุ่มน้ำ สาละวิน , กก , ปิง,วัง,ยม,น่าน,เจ้าพระยา,ท่าจีน,สะแกกรัง,ป่าสัก ภาค 2 มี 3 ลุ่มน้ำ โขง ,ชี,มูล ภาค 3 มี 4 ลุ่มน้ำ ปราจีนบุรี,บางปะกง,โตนเลสาป,ชายฝั่งทะเลตะวันออก ภาค 4 มี 2 ลุ่มน้ำ แม่กลอง , เพชรบุรี ภาค 5 มี 6 ลุ่มน้ำ ชายฝั่งทะเลประจวบฯ , ภาคใต้ฝั่งตะวันตก,ภาคใต้ฝั่งตะวันออก, ตาปี, ทะเลสาบสงขลา,ปัตตานี 2/1 1 2 4 3 หมายเหตุ 2 /1 มอบพื้นที่บริหารจัดการให้กับ ภาค 1 5

ผังกลไกการบริหารจัดการลุ่มน้ำ โดยมี “ผู้จัดการลุ่มน้ำ” เป็นศูนย์กลาง การประสานงานภาครัฐ – ภาคเอกชน – ภาคประชาชน กรมพัฒนาและบริหารน้ำภาค 1-5 หน่วยงานระดับจังหวัด และท้องถิ่น ผู้จัดการลุ่มน้ำ คณะกรรมการลุ่มน้ำ ศูนย์บริหารจัดการน้ำ ( พื้นที่ 80,000 ไร่ ขึ้นไป ) สำนักงานบริหารจัดการ ลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย ที่ .... จังหวัด ............ ( ชป.+ ทน.+ ทบ. ) ประชาชน คณะทำงาน ลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย

เหตุผลความจำเป็นของการจัดตั้งสำนักงานบริหารจัดการลุ่มน้ำสาขา / ลุ่มน้ำย่อย การบริหารทรัพยากรน้ำมีเงื่อนไขถูกกำหนดด้วยกายภาพของภูมิประเทศ จำเป็นต้อง มีการบริหารเป็นลุ่มน้ำ ซึ่งพื้นที่การปกครองของจังหวัดไม่สอดรับกับพื้นที่ลุ่มน้ำ ในการพัฒนาและจัดหาน้ำจำเป็นจะต้อง อาศัยสหสาขาวิชาการเพื่อบริหารน้ำให้เป็น ระบบ จะเน้นพื้นที่จังหวัดใดจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในลุ่มน้ำนั้นไม่ได้ และในการบริหาร ลุ่มน้ำในปัจจุบัน มีการตั้งคณะกรรมการลุ่มน้ำโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดแต่ละจังหวัด เป็นคณะกรรมการ การรวมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องน้ำเป็น Single Unit จะก่อให้เกิดการบริหารงาน และให้บริการประชาชน(One-stop Service)ได้อย่างเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการแก้ไขปัญหาเร่งด่วนทางด้านน้ำ จะดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว ในการบริหารน้ำของพื้นที่แต่ละจังหวัดจะต้องดำเนินการทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง (Matrix) คือ ในแนวราบ เมื่อรวมหน่วยงานด้านน้ำแล้วช่วยให้การจัดทำยุทธศาสตร์ และการประสานงานกับหน่วยงานในจังหวัดรวดเร็วยิ่งขึ้น ส่วนในแนวดิ่ง สามารถ แก้ไขปัญหาด้านวิชาการ หรือภัยทางน้ำ โดยการบูรณาการร่วมกันภายในกรมภาค ตามลักษณะลุ่มน้ำ/ลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Function Approach สำนักงานปลัดทบวง กรม สำนักงานภูมิภาค หน่วยงานระดับจังหวัด และท้องถิ่น สำนักงานภูมิภาค คณะกรรมการลุ่มน้ำ ศูนย์บริหารจัดการน้ำ ( พื้นที่ 80,000 ไร่ ขึ้นไป ) สำนักงานบริหารจัดการ ลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย ที่ .... จังหวัด ............ ( ชป.+ ทน.+ ทบ. ) ประชาชน คณะทำงาน ลุ่มน้ำสาขา/ลุ่มน้ำย่อย