การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
สวัสดีครับ.
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ 1

ประเด็น ความหมายและความจำเป็น การกำหนดนโยบาย การขับเคลื่อน

นโยบาย (Policy) คือ การตัดสินใจหรือทิศทาง ความตั้งใจที่จะทำในอนาคต เป็นผลของตัดสินใจที่เกิดการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เป็นกฎกติกาหรือจุดยืนที่ใช้กำกับการตัดสินใจและปฏิบัติ

นโยบายสาธารณะ (Public Policy) การตัดสินใจของรัฐหรือองค์กร ที่มีผลต่อประชาชนในประเทศ หรือ คนในองค์กร

การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อ การพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทั่วไปให้ดีขึ้น นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ คือ (Healthy Public Policy , HPP) การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อ การพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทั่วไปให้ดีขึ้น

นโยบายสาธารณะด้านโภชนาการ (Nutrition Public Policy, NPP) คือ การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อ การพัฒนาภาวะโภชนาการของประชาชนทั่วไปให้ดีขึ้น

ตัวอย่าง NPP นโยบายการขจัดโรคขาดสารอาหาร นโยบายการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน นโยบายการควบคุมภาวะโภชนาการเกิน (คนไทยไร้พุง) นโยบายการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ความจำเป็นของการมี NPP ปัญหาโภชนาการรุนแรงขึ้นและมีผลกระทบต่อประเทศ เป็นการสร้างระบบการจัดการกับปัญหาโภชนาการระดับชาติ เป็นการระดมทรัพยากรของชาติมาจัดการกับปัญหา

ถ้า ไม่มี NPP เกิดภาวะทุพโภชนาการรุนแรง สุขภาวะของประชาชนตกต่ำ คนในชาติขาดคุณภาพ เป็นประเทศด้อยพัฒนา

การกำหนด NPP ต้องมีกลุ่ม/องค์กร เป็นแกนกลาง ทบทวนสถานการณ์และผลกระทบ ศึกษาบทเรียน / ประสบการณ์ ทั้งภายในและต่างประเทศ

การกำหนด NPP วิเคราะห์ / กำหนดกรอบและทิศทาง ลำดับความสำคัญของกรอบ / ทิศทาง กำหนดนโยบาย วางแผนการขับเคลื่อน

ประเด็นการกำหนด NPP ดึงประเด็นเด่นมาขับเคลื่อนก่อน เป็นประเด็นเด่นที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม องค์ความรู้ต้องชัดเจนในประเด็นนั้น เป็นประเด็นที่เกิดความขัดแย้ง เป็นประเด็นที่ประชาชนได้ประโยชน์

กระบวนการขับเคลื่อน NPP การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy formulation) กระบวนการขับเคลื่อน NPP การปฏิบัติตามนโยบาย (Policy implementation) การประเมินนโยบาย (Policy Evaluation)

การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ สื่อสารสู่สาธารณะ (Public Communication) กำหนดเจ้าภาพ (Key Actors) แปลงนโยบายสู่แผนปฏิบัติ (Action Plan) การปฏิบัติตามแผน ควบคุม กำกับ และประเมินผล

ระดับของ NPP ระดับชาติ ระดับพื้นที่ (จังหวัด) ระดับชุมชน

ตัวอย่าง ประเด็น NPP เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว ไอโอดีนมีคุณค่า เสริมปัญญาเด็กทุกวัน คนไทยไร้พุง มุ่งสู่สุขภาพดี ลดหวายมันเค็ม เติมเต็มผักผลไม้ นมไหนใครแน่ นมแม่แน่กว่าใคร

นโยบายสาธารณะชุมชนไอโอดีน การตัดสินใจของรัฐที่มีผลต่อการพัฒนาให้เกิดชุมชนไอโอดีนจนทำให้คนไทยไม่ขาดไอโอดีน

การขับเคลื่อน นโยบายหมู่บ้านไอโอดีน เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้กำหนดนโยบายตระหนักเห็นความสำคัญ/จำเป็นกับการมีหมู่บานไอโอดีนจนนำไปสู่การกำหนดนโยบาย

ความจำเป็น ชุมชนไอโอดีน เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายส่วนมาก มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี เป็นการพัฒนาแบบพึ่งพาตนเองเพื่อ สู่ความยั่งยืน

ระดับนโยบาย ประเทศ จังหวัด ชุมชน/ท้องถิ่น

กระบวนการขับเคลื่อน มี 2 รูปแบบ ประเทศ ชุมชน ชุมชน ประเทศ

สร้างรูปแบบ ชุมชนไอโอดีนให้ชัด กระบวนการขับเคลื่อน โครงสร้างชุมชน กิจกรรมต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม (Win-Win) มาตรการทางสังคม การควบคุมกำกับ

การสนับสนุน พัฒนาศักยภาพคน สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง กระตุ้นให้เกิดกิจกรรมต่อเนื่อง สนับสนุนสื่อ/วิชาการ

กลุ่มเป้าหมาย การสื่อสาร สื่อสารท้องถิ่น/ชุมชน ผู้บริหาร/ผู้กำหนดนโยบาย ผู้นำชุมชน/ท้องถิ่น ผู้นำการเปลี่ยนแปลง แม่บ้าน/ครู

บทบาทนักวิชาการ สนับสนุนให้เกิดนโยบาย สนับสนุนวิชาการ สนับสนุนให้เกิดเครือข่าย

ความคาดหวัง เกิดนโยบายทุกระดับ เกิดศูนย์เรียนรู้ เกิดชุมชนไอโอดีน เกิดการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง ปี 2558 มหกรรมไอโอดีนแห่งชาติ

ขอบ คุณ ครับ สวัสดี นายสง่า ดามาพงษ์ www.pnic.go.th