OPD 1 มิถุนายน 2549 vol.1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Advertisements

The Power of Communication
Graduate School Khon Kaen University
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
สำนักบริหารยุทธศาสตร์ มีนาคม “ สรุปบทเรียนจากการ เสวนาคุยกันสบายๆ ในรอบ 1 ปี ”
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบราชการ ของ สปท. ครั้งที่ 2/55
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
“ประเมินสมรรถนะ Online”
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
Participation : Road to Success
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
ทีมผู้ป่วยนอก พฤษภาคม. สถานการณ์ P SO ทีมผู้ป่วยนอก.
สรุปผลงานทีมผู้ป่วยนอก พฤศจิกายน 49. PSO ทีมผู้ป่วยนอก พ. ย.49.
การทำงานแบบระบบกรรมการ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ทีมผู้ป่วยนอก 11 ตุลาคม PSO ตุลาคม KMKPI บริบ ท Tac tic ยุทธศา สตร์ PSO
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

OPD 1 มิถุนายน 2549 vol.1

OPD : ทิศทางการดำเนินงานและความคาดหวัง ความมุ่งหวังแห่งความสำเร็จ คณะกรรมการบริหารทีมผู้ป่วยนอก อดีตเป็นอย่างไร อนาคตเราจะเป็นอย่างไร ? การสร้างนโยบายสาธารณะ สมาชิกมีส่วนร่วม

ความมุ่งหวังแห่งความสำเร็จ

PSO คืออะไร ใครรู้บ้าง? Pso ย่อมาจาก Purpose Skill Organization เป็นเครื่อมือวัดประสิทธิภาพขององค์กร ของศูนย์อนามัยที่ 11 ที่เกิดจากการวัดประเด็นย่อย ๆ ดังนี้

PSO คืออะไร ใครรู้บ้าง 1. KM หรือ สมรรถนะ เจ้าหน้าที่ที่มีรายชื่อในโปรแกรมต้องบันทึกประเด็น ต่าง ๆ เช่น เราทำได้ ข้อเสนอแนะ ขอความร่วมมือ การทำตามข้อกำหนด ความรู้ที่อ่านเจอ และอื่น ๆ

PSO คืออะไร ใครรู้บ้าง 2.KPI คือผลงานตามเป้าหมายและตัวชี้วัดทีม ผู้ป่วยนอกมี 88 ตัวชี้วัด

PSO คืออะไร ใครรู้บ้าง 3.บริบท คือเรื่องของสิ่งแวดล้อมที่อำนวยความสะดวกให้เราทำงานได้มีประสิทธิภาพ เช่น คู่มือ แบบฟอร์ม และแบบรายงาน เป็นต้น

PSO คืออะไร ใครรู้บ้าง 4.TACTIC กลวิธีที่เกิดจากการประชุม การวิเคราะห์ทีม เพื่อให้ทีมทำงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

PSO คืออะไร ใครรู้บ้าง 5.ยุทธศาสตร์ ผลสำเร็จของทีมโดยรวมที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย และบุคลากร

คณะกรรมการบริหารทีมผู้ป่วยนอก มี 4 ชุด ได้แก่ 1.ทีมแกนนำ ท.ญ.ศศิธร บัณฑิตมหากุล เป็นประธาน มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายของศูนย์อนามัยที่ 11 และพัฒนาศักยภาพบุคลากรทีมผู้ป่วยนอก สร้างการมีส่วนร่วมโดยใช้หลักการทำงานคือ เพื่อน พี่ น้อง ทีม และ พันธสัญญา

คณะกรรมการบริหารทีมผู้ป่วยนอก 2.ทีมพัฒนาคุณภาพบริการ(HA) ท.ญ.หทัยทิพย์ ภู่โชติ เป็นประธาน มีหน้าที่พัฒนาการบริการให้มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และผ่านการรับรองคุณภาพ(HA)จากองค์กรภายนอก และพัฒนาบุคลากรด้านการบริการ

คณะกรรมการบริหารทีมผู้ป่วยนอก 3.ทีมพัฒนาสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน(Healthy work place) นายบุญสม มณีเกิด เป็นประธาน มีหน้าที่พัฒนาสถานที่ทำงานให้น่าอยู่ น่าทำงาน ผ่านการประเมินจากภายในและภายนอก และสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรรักความสะอาด มีระเบียบ และมีวินัย

คณะกรรมการบริหารทีมผู้ป่วยนอก 4.ทีมพัฒนาระบบข้อมูลและIntranet ภ.ก.วินัตย์ เภอบางเข็ม เป็นประธาน มีหน้าที่รับผิดชอบการรวบรวมข้อมูลทีมผู้ป่วยนอกและประชาสัมพันธ์โดยผ่านทาง Intranet และพัฒนาบุคลากรด้านการมีส่วนร่วม และการสร้างนยาบายสาธารณะ

อดีตเป็นอย่างไร อนาคตเราจะเป็นอย่างไร อดีตเป็นอย่างไร อนาคตเราจะเป็นอย่างไร อันดับ รวม ยุทธศาสตร์ Tactic บริบท KPI KM เดือน - ตุลาคม พฤศจิกายน 9 45.1 30.5 94.7 79.2 20.8 ธันวาคม 7 44.6 34.7 81.0 12.5 มกราคม 6 63 30.0 82.0 83.6 29.2 กุมภาพันธ์ 46 2.2 0.0 78.7 54.2 มีนาคม fail 49.67 24.35 20.5 80.6 29.1

อดีตเป็นอย่างไร อนาคตเราจะเป็นอย่างไร อดีตเป็นอย่างไร อนาคตเราจะเป็นอย่างไร อดีต ทีมผู้ป่วยนอกอยู่อันดับที่ 7-9 อนาคต ทีมผู้ป่วยนอกต้องติด 1 ใน 3 ของศูนย์ให้ได้โดยความร่วมมือร่วมใจของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย

การสร้างนโยบายสาธารณะ ทีมผู้ป่วยนอกมีระบบการประชาสัมพันธ์ข่าวสารผ่านทาง Intranet ของทีม

เนื้อหาประกอบด้วย 1.ผลงาน pso และผลงาน 2.เดือนนี้ทำไหรกันมั้ง 3.ข่าวประชาสัมพันธ์ 4.คณะกรรมการ 5.ข้อกำหนดทีม 6.ปฏิทินกิจกรรม 7.คู่มือและแบบฟอร์ม 8.จดหมายถึงทีม 9.อื่น ๆ

สมาชิกมีส่วนร่วม สมาชิกทีมผู้ป่วยนอกมีทั้งหมด 28 คน ลาราชการ 4 คนมีสมาชิกทำงานจริง 24 คน ทีมผู้ป่วยนอกมีสมาชิกมากที่สุด ใน 9 ทีม ดังนั้นการบริหารจัดการทีมต้องเป็นระบบ และระบบต้องมีประสิทธิภาพ ซึ่งทีมผู้ป่วยนอกเลือกระบบที่มีกรรมการทำงาน และแบ่งงานออกเป็น 3 เรื่อง ได้แก่

สมาชิกมีส่วนร่วม 1.HA 2.สถานที่ทำงาน น่าอยู่น่าทำงาน 3.ข้อมูล และเลือกใช้การประกาศหรือแจ้งข่าวทีมผ่านทาง Intranet เป็นลำดับแรก ซึ่งสมาชิกในทีมมีส่วนร่วมได้ทุกคน สามารถคุยแสดงความเห็น แจ้งข่าวผ่าน Intranet ได้

สมาชิกมีส่วนร่วม การสื่อสาร ของทีมผู้ป่วยนอกทาง Intranet เป็นการสร้างนโยบายสาธารณะ และเป็นความภูมิใจของทีมผู้ป่วยนอกและสมาชิกทุกคน

ความภูมิใจของทีมคือสมาชิกมีส่วนร่วมกับงานและมีส่วนในการพัฒนางานที่รับมอบหมายให้สำเร็จรูปแบบโดยใช้การสื่อสารโดยใช้ช่องทาง Intranet

รายชื่อคนที่ KM ดีเยี่ยม good 1.หทัยทิพย์ ภู่โชติ 2.นายวินัตย์ เภอบางเข็ม 3.นายบุญสม มณีเกิด 4.น.ส.อำพร สิริวัฒนโสภา

คุณภาพชีวิตสมาชิกทีมผู้ป่วยนอก

คุณภาพชีวิตด้านกาย

คุณภาพชีวิตด้านจิต

คุณภาพชีวิตด้านสังคม

คุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อม

ความพึงพอใจผู้รับบริการ