การส่งเสริมสุขภาพ พนัส พฤกษ์สุนันท์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
Advertisements

การชี้แนะสาธารณะด้านสุขภาพ (HEALTH ADVOCACY)
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
เมืองไทยแข็งแรง เมืองไทยอยู่เย็นเป็นสุข
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
ROAD MAP ประชาชนสุขภาพดี ปชช. มีพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้ สมบูรณ์ สวล. ดี ชมรมสร้างสุขภาพ บริการ สส. และ สวล. เป็นไปตามมาตรฐาน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
( Healthy Public Policy ).  มีนโยบายสาธารณะในการควบคุม การบริโภคอาหาร เครื่องดื่ม ยา และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลเสียต่อ สุขภาพ  มีนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการ.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
The 10th National Health Plan
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมสุขภาพ พนัส พฤกษ์สุนันท์

สุขภาพ คือ อะไร ??? WHO : สุขภาพมีความหมายมากกว่าการไม่เจ็บป่วย สุขภาพเป็นสภาวะความเป็นปกติสุขอย่างสมบูรณ์ ทั้งทางกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ สุขภาพเป็นความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับตัวเราเอง สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวเรา และเมืองของเรา สุขภาพ (-) ----(0)----(+) ใครเป็นผู้ดูแลสุขภาพ

ใจ สุขภาวะ กาย จิตวิญญาณ สังคม พนัส พฤกษ์สุนันท์

Soviet Russia Alma Ata Health for All by 2000 1978 Global Conference on Health Promotion City Country Year Themes Soviet Russia Alma Ata Health for All by 2000 1978 1. Ottawa Canada 1986 The Move Towards a New Public Health Ottawa Charter 2. Adelaide Australia 1988 Health Public Policy 3. Sundsvall Sweden 1991 Supportive Environments for Health 4. Jakarta Indonesia 1997 New Partners for a New Era Leading Health Promotion into 21 Century 5. Mexico city Mexico 2000 Health Promotion : Bridging the Equity Gap 6.Bangkok Thailand 2005 Policy and Partnership for Action

Health Promotion is the process of enabling people to increase control over, and to improve, their health (Ottawa Charter, 1986)

ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ ความเสมอภาค การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม การศึกษา สุขภาพ ความปกติ คุณค่า จิตสำนึก สันติภาพ ระบบการศึกษา สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ระบบนิเวศ การคมนาคม สื่อสาร ระบบสาธารณสุข ระบบเศรษฐกิจ

5 Infrastructures 5 Actions 3 Strategies 3 Approaches "3355" of Health Promotion 5 Infrastructures Partners 5 Actions 1 2 Media and Communication Training 3 Strategies Supportive Environment Community Participation Health Issues mediate advocate 3 Approaches Advocate Settings Population 5 3 Regulations Personal Development Health Care Reform New Information Technology Regulation enable Health Public Policy Building Capacity 4 Investment Research

“3355” of Health Promotion 2 1 5 3 4 พนัส พฤกษ์สุนันท์ การสื่อสารเพื่อสุขภาพ (Media and Communication) นโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy) 1 การอบรม (Training) การมีส่วนร่วม ของประชาชน (Community Participation) สิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อสุขภาพ ปัญหาสุขภาพ (Supportive (Health Issues) การชี้แนะ การประสานงาน Environment) (advocate) ยึดพื้นที่ (mediate) ประชากร 5 (Settings) (Population) 3 กฎเกณฑ์ กฎหมาย การปฏิรูป การสร้างพลัง เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ การพัฒนาคน (enable) ระบบสุขภาพ (Personal Development) (Health Care Reform) ระเบียบ (Regulations) (New Information Technology) 4 วิจัยและพัฒนา(Research) พนัส พฤกษ์สุนันท์

การเคลื่อนไหวเพื่อการส่งเสริมสุขภาพในไทย 1980 เริ่ม HFA เน้นการบวนการ PHC ให้ปชช.มีส่วนร่วมในรูปอสม. ทำงานเชื่อมโยงกันระบบบริการสุขภาพ อสม.เข้มแข็ง แต่ประชาชนยังมีส่วนร่วมน้อย โดยเฉพาะเขตเมืองได้ผลน้อย

ในระยะ 15 ปีที่ผ่านมา มีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ กระบวนการพัฒนาเมืองน่าอยู่ เน้นที่ Supportive Environment and People Empowerment ในอปท. นโยบายสุขภาพดีที่ต้นทุนต่ำในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ การมีพรบ.กองทุน สสส. ในปี 2544 พรบ.หลักประกันสุขภาพ ปี 2545

นโยบายสร้างนำซ่อม การรณรงค์ออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย ปีรณรงค์แห่งการสร้างสุขภาพ 2545 – 2547 (Empowerment for Health)

วาระแห่งชาติเรื่องเมืองไทยแข็งแรง กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพด้วยสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ และพรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 10 “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ยุทธศาสตร์สังคมอยู่ดีมีสุข

Critical success factors ในการเคลื่อนตัวด้านส่งเสริมสุขภาพ CSF ได้แก่ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและภาคีสุขภาพ โดยเฉพาะการถ่ายโอนภารกิจด้านสุขภาพสู่ อปท. ตามพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจสู่ อปท. 2543

สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี มีคุณภาพชีวิตดี อาศัยในชุมชนน่าอยู่ สสจ. ศูนย์วิชาการ สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี มีคุณภาพชีวิตดี อาศัยในชุมชนน่าอยู่ ประชุม สัมมนา อบรม สนับสนุน กำกับ ประเมินผล รณรงค์ ลดโรค การเจ็บป่วย พิการ การตายก่อนวัยอันควร เครือข่าย บริการสุขภาพ CUP PCU ปชส. ชมรม ผู้สูอายุ ชมรมออกกำลังกาย HPS HPW CFGT HM ร้านอาหาร ตลาดสด เครือข่ายชมรมสร้างสุขภาพ ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น สถานที่ทำงาน กลุ่มผลิตภัณฑ์ สุขภาพ สวนสาธารณะรื่นรมย์ SMEs โรงเรียน อื่นๆ อื่นๆ ส่งเสริม ปกป้อง คุ้มครองสุขภาพและพึ่งตนเอง รวมพลังภาคีและการมีส่วนร่วม พนัส พฤกษ์สุนันท์ ชุมชนสร้างสุขภาพ