งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System
คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๔

2 Soviet Russia Alma Ata Health for All by 2000 1978
Global Conference on Health Promotion City Country Year Themes Soviet Russia Alma Ata Health for All by 2000 1978 1. Ottawa Canada The Move Towards a New Public Health Ottawa Charter 2. Adelaide Australia Building Health Public Policy 3. Sundsvall Sweden Supportive Environments for Health 4. Jakarta Indonesia New Players for a New Era 5. Mexico city Mexico Bridging the Equity Gap 6.Bangkok Thailand Policy and Partnership for Action 7.Nairobi Kenya Call to action

3 ระบบส่งเสริมสุขภาพในปัจจุบัน
ระดับส่วนกลาง ระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับชุมชน ประชาชน ชุมชน สช. ธรรมนูญสุขภาพ ปฏิบัติการ จัดบริการ สนับสนุนวิชาการ M&E ศูนย์วิชาการ สสจ รพศ.รพท. รพช .สสอ. รพ.สต. สอ. อปท. กสธ. นโยบาย กม. คปสข. สปสช. ซื้อบริการ สปสช.เขต สสส. เคลื่อนไหวสังคม จัดสรรเงิน สวรส. วิชาการ ศธ.พม. ทส.มท.NGO ต่างประเทศ ฯลฯ หน่วยงานอื่น วิชาการ ปฏิบัติการ

4 Input ที่ใช้ในการกำหนดบทบาท/ภารกิจของระบบส่งเสริมสุขภาพ
ผลที่ประชาชนจะได้รับจากระบบการส่งเสริมสุขภาพ การกระจายอำนาจให้พื้นที่/อปท. Actors ที่สำคัญในระบบส่งเสริมสุขภาพ ระบบการส่งเสริมสุขภาพใหม่ที่ควรเป็น

5 คน + ชุมชน สื่อสารความเสี่ยง ให้ความรู้ เฝ้าระวัง/สะท้อนปัญหา
Policy Maker สื่อสารความเสี่ยง ให้ความรู้ คน + ชุมชน เสริม/สร้าง ความเข้มแข็ง รวมพลัง กลุ่มลูกค้า ภาคีท้องถิ่น ภาคีภาครัฐ ภาคีอื่นๆ จัดบริการ องค์ความรู้/เทคโนโลยี องค์กร สส. เป็น มาตรฐาน / กฎเกณฑ์ M&E องค์กรแห่งการเรียนรู้ ดำเนินการ เฝ้าระวัง/สะท้อนปัญหา กำกับ/ตรวจสอบ/เรียกร้อง Conceptual

6 ระบบส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์
เป็นระบบที่มีจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นระบบที่บูรณาการอย่างมีเอกภาพ เป็นระบบที่ตอบสนองต่อการดำเนินงานบนหลักการกระจายอำนาจ เป็นระบบที่ยึดหลักการบริหารธรรมาภิบาล เป็นระบบที่อำนวยความยุติธรรม เป็นระบบที่เชื่อมโยงในระดับสากลได้

7 ๑.การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
Surveillance & Information System Monitoring & Evaluation Research & Development บุคลากรมีความเชี่ยวชาญและทักษะ มีโครงสร้างรองรับในทุกระดับ มีกระบวนงานคุณภาพ

8 ๒.การบูรณาการอย่างมีเอกภาพ
มีกลไกการกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์ มีกลไกการทำงานที่เชื่อมโยงกับภาคีเครือข่าย มีการประสานและสื่อสารเชื่อมโยงกับกลไกในระดับพื้นที่

9 ๓.การตอบสนองการกระจายอำนาจ
ส่งเสริมบทบาทภาคประชาชนและการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดบริการที่มีคุณภาพ

10 ๔.ธรรมาภิบาล(GOOD GOVERNANCE)
หลักนิติธรรม (Rule of Law) หลักคุณธรรม (Integrity) ๔.ธรรมาภิบาล(GOOD GOVERNANCE) หลักความโปร่งใส (Transparent) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หลักความคุ้มค่า (Efficient Service) หลักความรับผิดชอบ (Accountability)

11 ๕.อำนวยความยุติธรรม จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นมาตรฐาน
เสมอภาคและเป็นธรรม พัฒนากฎหมายที่สอดคล้องกับบริบท มีระบบประกันคุณภาพการจัดบริการ

12 ๖. ความเชื่อมโยงสากล ดำเนินงานตามข้อตกลงและพันธะสัญญาระหว่างประเทศ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างประเทศ ร่วมมือกับการดำเนินงานระหว่างประเทศ คุ้มครองผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษข้ามพรมแดน

13 Advocate,Mediate จนเกิด Charter,Declaration
MOU,Policy,Law & Regualtion,ธรรมนูญสุขภาพ,โครงการความร่วมมือ ผูกพัน

14 Health Promotion (HP) & Environmental Health (EH) System

15 Organization - Specification
มี Authority Power ในการบริหารจัดการทุก Functions ในระบบส่งเสริมสุขภาพ ภายในกระทรวงสาธารณสุข เป็น Focal Point ในการทำหน้าที่ Intersectoral Collaboration กับ Health Sectors นอก สธ. และ Non Health Sectors. ที่เกี่ยวข้องกับระบบส่งเสริมสุขภาพ มี Advocacy Power ในการ Advocate ให้ Non Health Sectors พัฒนา Health Determinants ที่เกี่ยวข้องกับ Health Problems

16 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กร
จัดตั้งองค์กรบริหารจัดการภาพรวมของการส่งเสริมสุขภาพ โดยแบ่งเป็น ๒ ทางเลือกคือ Strengthened ระบบเดิม โดยตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพระดับกระทรวงและระดับเขตขึ้น มอบหมายหน่วยงานภายในกระทรวงทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพหลักในแต่ละเรื่อง ตั้งคณะกรรมส่งเสริมสุขภาพระดับกระทรวงและระดับเขต และมีสำนักงานที่ทำหน้าที่บริหารจัดการยุทธศาสตร์ (OSM) ทั้งระดับกระทรวงและระดับเขต

17 คณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพ
บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพทั้งระดับกระทรวง/ระดับเขต เน้นหนักในการทำหน้าที่ในการกำหนดทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ และการจัดสรรทรัพยากรในภาพรวมของระดับประเทศ/เขต (System Governance) โดยอิงข้อมูลและความรู้ และ M&E ภาพรวมของทั้งระบบ การทำงานด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการและดำเนินงานของสสจ./สสอ./รพ./รพสต./อสม./ชุมชน

18 ประชาชน : บุคคล ครอบครัว ชุมชน
National Health Board : NHB กสธ. เขตสุขภาพ ส่วนกลาง เขต สธ. Regional Health Board : RHB เขต M&E SURVEILANCE องค์ความรู้ เทคโนโลยี Regulator M&E สสจ. EMPOWERMENT รพศ.รพท.รพช. อปท. District Health Board : DHB M&E สสอ. รพ.สต. HP&EH Services HP&EH Services ประชาชน : บุคคล ครอบครัว ชุมชน

19 Function ในแต่ละระดับ กสธ เขต จังหวัด อำเภอ ตำบล Surveillance √
R&D รวม Standard และ Tools R2R M&E Information & KM System Governance √ √ Finance & Funder Alliance Population Protection &Empower Law/Q Law Support partner & Delivery System HP & Env Health Service √√ Law = พรบ.ที่เจ้าหน้าที่ สธ.เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตำบล = สถานบริการสธ. +เครือข่าย ในตำบล Q = Quality Assurance ทั้ง Product & Quality Management System

20 คนไทยทุกกลุ่มวัยสุขภาพดี
ระบบส่งเสริมสุขภาพและหลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เข้าใจ ประชาชนรู้เท่าทันสุขภาพ สื่อสารความเสี่ยง บริการ HP &ENV มีประสิทธิภาพ คนไทยทุกกลุ่มวัยสุขภาพดี Healthy People & Environment พัฒนา เข้าถึง ระบบส่งเสริมสุขภาพมีเอกภาพและประสิทธิภาพ อปท./ชุมชนเข้มแข็ง รพ.สต.ส่งเสริมสุขภาพดีมีคุณภาพ empowerment

21 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion System) Health Promotion System + Environmental Health System คณะทำงานจัดทำระบบส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒๕.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google