โครงการพัฒนาเทคโนโลยีส่งเสริมสุขภาพในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นางสาวลักษณ์ พัวพัฒนกุล นางทัศณีย์ ทองอ่อน
ความสำคัญและความจำเป็น ปี 2546 เริ่มต้นความร่วมมือ เกิดความร่วมมือ สธ. + ศธ. ในการดำเนินงานกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาตั้งแต่ปี 2546 มีผลผลิต 2 ชิ้น คือ 1. จัดทำสาระการเรียนรู้สุขศึกษาของช่วงชั้นและรายชั้นปี 2. แผนการสอนตัวอย่างวิชาสุขศึกษาในกลุ่มทักษะชีวิต ปี 2547 พัฒนาต่อเนื่อง กรมอนามัย + โครงการ Intel Teach to the Future พัฒนา นวตกรรมสนับสนุนกลุ่มสาระสุขศึกษาฯ
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิชาการสุขศึกษาในชั้นเรียน
เป้าหมาย ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาแผนการสอนจากฝ่ายการศึกษา นักวิชาการจากกรมต่างๆ ในกระทรวงสาธารณสุข และ ศูนย์อนามัย และรวม 34 คน
การดำเนินงาน อบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 - ระยะเวลา 6 วัน ระหว่างวันที่ 8-13 มีนาคม 2547 - เนื้อหาสาระการอบรม ส่วนที่ 1 มาตรฐานการเรียนรู้ฯ ส่วนที่ 2 โปรแกรม Intel Teach to the Future ผลผลิต เค้าโครงแผนจัดการเรียนรู้ 17 แผนฯ
การดำเนินงาน (ต่อ) วิเคราะห์ผลผลิตจากอบรมครั้งแรก ทีมวิทยากร และคณะทำงานของกลุ่มฯ ประชุมหารือเพื่อวิเคราะห์เค้าโครงแผนฯ ที่ได้ คัดเลือกแผนฯที่มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาต่อให้เสร็จสมบูรณ์จำนวน 10 แผน
การดำเนินงาน (ต่อ) ประชุมปฏิบัติการครั้งที่ 2 เชิญผู้เข้าอบรมครั้งแรกโดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม จัดประชุมฯ 2 ครั้ง ระหว่างวันที่ 30 เม.ย. – 1 พ.ค. และ 3-4 พ.ค. 2547 เพื่อพัฒนาเค้าโครงแผนฯ ให้เสร็จสมบูรณ์โดยมีวิทยากรให้คำแนะนำ
การดำเนินงาน (ต่อ) ประชุมทีมวิทยากรร่วมกันตรวจสอบแผนจัดการเรียนรู้ครั้งสุดท้าย ก่อนเผยแพร่
ผลผลิต (Output) แผนการสอนที่ : - บูรณาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ - บูรณาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ - มุ่งให้เกิดทักษะสุขภาพและทักษะชีวิต (Skill based Health Education)
ผลลัพท์ (Outcome) ครูที่เข้ารับการอบรมตามโครงการ Intel Teach to the Future สร้างแผนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสร้างทักษะสุขภาพและทักษะชีวิต (Skill based Health Education) ในการสอนกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
ผลกระทบ (Impact) นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
สวัสดี นกแต้วแล้วท้องดำ (Gurney Pitta) ถิ่นที่อยู่ : พบที่เดียวในโลกที่ เขานอจู้จี้ จ.กระบี่ สถานภาพ : ใกล้สูญพันธุ์