การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น วันที่ 28-29 เมษายน 2554 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี

ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นของจังหวัดชลบุรี วัยรุ่นและเยาวชน มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม มีบุคลิกดี สุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ มีความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ ที่เหมาะสม มีจิตสาธารณะ รู้บทบาท และรับผิดชอบต่อสังคม

ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดชลบุรี ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) ระดับประชาชน วัยรุ่นมีความรู้ ทักษะและพฤติกรรมในการดูแลตนเอง ที่ถูกต้องด้านอนามัยเจริญพันธุ์มี่เหมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม ครอบครัวอบอุ่น มีความพร้อมในการดูแลวัยรุ่น เข้าใจ ปัญหา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของวัยรุ่น ชุมชนให้ความสำคัญ ให้การสนับสนุนและส่งเสริม กิจกรรมการพัฒนาวัยรุ่น จัดทำแผนงาน/โครงการ โดยชุมชนเพื่อชุมชน ระดับภาคี ภาครัฐ - ศึกษา มีการจัดการสอนเพศศึกษารอบด้าน และเสริมสร้างทักษะชีวิต สาธารณสุข พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นในสถานบริการ ทุกระดับ - พัฒนาสังคมฯ พัฒนาครอบครัว และจัดสวัสดิการครอบคลุม - มหาดไทย ตรวจสอบ ดูแลความปลอดภัย - ยุติธรรม คุ้มครอง พิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน - เทคโนโลยี จัดทำและเผยแพร่สื่อความรู้ที่ดี ควบคุมสื่อที่ไม่ดี - แรงงาน ให้โอกาสประกอบอาชีพ พัฒนาฝีมือแรงงาน - ตำรวจ ปราบปราม ใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด วัฒนธรรม ควบคุมพฤติกรรมไม่เหมาะสม เผยแพร่ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีของท้องถิ่น ส่งเสริมบุคคลต้นแบบ เอกชน ร่วมมือ สนับสนุนงบประมาณ ปฏิบัติตามกฎหมาย ท้องถิ่น ร่วมมือ สนับสนุนงบประมาณ ประชาชน มีความรู้ ทักษะ พึ่งตนเองได้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมสร้างสรรค์ ระดับกระบวนการ แต่ละหน่วยงานมีการประสานงาน และบูรณาการ ร่วมกัน มีการทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่ได้จัดทำร่วมกัน มาใช้และปฏิบัติ มีการรณรงค์ให้ความรู้ ทักษะ กระบวนการ อย่างต่อเนื่อง และหลากหลาย สร้างระบบการติดตามและประเมินผล มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ให้บริการ Hotline ระดับพื้นฐาน มีทีมสหวิชาชีพ ที่มีทักษะและความรู้ในเรื่องการอนามัย เจริญพันธุ์วัยรุ่น มีระบบข้อมูลที่ทันสมัยและเข้าถึงง่าย องค์กรมีความยืดหยุ่น มีความร่วมมืออย่างจริงจังในการ ดำเนินงาน มีงบประมาณสนับสนุน และเอื้อต่อการดำเนินงาน ส่งเสริม พัฒนาแนวคิดทางด้านบวก

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดชลบุรี ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) วัยรุ่นและเยาวชน มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม มีบุคลิกดี สุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ มีความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีจิตสาธารณะ รู้บทบาทและรับผิดชอบต่อสังคม ครอบครัวอบอุ่น มีความพร้อมในการดูแลวัยรุ่น เข้าใจปัญหาการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการของวัยรุ่น - ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว - พัฒนาศักยภาพของครอบครัว - สร้างครอบครัวอบอุ่นต้นแบบ วันรุ่นและเยาวชนมีความรู้ ทักษะชีวิตและ พฤติกรรมถูกต้องเหมาะสมด้านอนามัยเจริญพันธุ์ ส่งเสริมความรู้ และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ - ส่งเสริมค่านิยมทางเพศที่ปลอดภัย ถูกต้องเหมาะสม - สร้างความตระหนักในคุณค่าของตนเอง ชุมชนมีแผนงาน/โครงการโดยชุมชนเพื่อชุมชน - มีระบบการเฝ้าระวังในชุมชน - สร้างการมีส่วนร่วมและเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ - สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง - สร้างมาตรการทางสังคม ระดับประชาชน (Valuation) สาธารณสุขพัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - สนับสนุนวิชาการแก่ภาคี - พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ศธ.พัฒนากระบวนการเรียนรู้ - จัดการเรียนการสอนเพศศึการอบด้าน - พัฒนาสื่อ/หลักสูตรการเรียนการสอน - พัฒนาระบบการช่วยเหลือ พม./ตำรวจ/มหาดไทย สนับสนุนประสานเครือข่ายให้เข้มแข็ง - พัฒนาสถาบันครอบครัว และจัดสวัสดิการครอบคลุม - ทบทวนการใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด - ตรวจสอบดูแลความปลอดภัย อปท/เอกชน/สถานประกอบการร่วมมือสนับสนุนงบประมาณ - ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ส่งเสริมการจัดทำแผนแบบ บูรณาการ ผลักดันเข้าแผนของ ท้องถิ่น (Stakeholder) ระดับภาคี ระบบประสานงาน/การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว จัดตั้งศูนย์การประสานงานระดับ จังหวัด พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มี ความหลากหลาย ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์บริการที่ เป็นมิตรสำหรับเยาวชนและวัยรุ่น การดำเนินงานแบบบูรณาการ ส่งเสริมการประสานงานอย่างมี ประสิทธิภาพ - กำหนดเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน สนับสนุนการทำงานแบบมีส่วนร่วมใน รูปแบบภาคีเครือข่าย มีการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการเสริมสร้างและใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ พัฒนาศักยภาพการสร้างแผนที่ สร้างระบบจัดการปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข มีระบบติดตาม/ประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาศูนย์ประสานงานระดับ จังหวัด สร้างแนวทางการประเมินผลแบบมี ส่วนร่วม พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล ระดับกระบวนการ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครบถ้วน ทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย -พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น เยาวชนให้ครบถ้วน ทันสมัย - มีการนำข้อมูลมาประเมินผล วิเคราะห์ปัญหา - สร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูลให้ง่าย/ครอบคลุม บุคลากรมีความรู้ทักษะอย่างมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร - เสริมสร้างความรู้ ทักษะ - สร้างเครือข่ายงานอนามัยเจริญพันธุ์ทุกระดับ - ติดตาม ประเมินผล สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง องค์กรมีความยืดหยุ่น/แนวทางดำเนินงานชัดเจน - สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างองค์กร ส่งเสริมให้องค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ - พัฒนาแผนงาน/โครงการแบบบูรณาการ - สร้างแรงจูงใจในองค์กร ระดับ พื้นฐาน 6 6

ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดชลบุรี ภายในปี ๒๕๕๔ (ระยะ ๒ ปี) วันรุ่นและเยาวชนมีความรู้ ทักษะชีวิตและ พฤติกรรมถูกต้องเหมาะสมด้านอนามัยเจริญพันธุ์ ส่งเสริมความรู้ และทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ครอบครัวอบอุ่น มีความพร้อมในการดูแลวัยรุ่น เข้าใจปัญหาการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการของวัยรุ่น - ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ชุมชนมีแผนงาน/โครงการโดยชุมชนเพื่อชุมชน - มีระบบการเฝ้าระวังในชุมชน ประชาชน สาธารณสุขพัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น อปท/เอกชน/สถานประกอบการร่วมมือสนับสนุนงบประมาณ - ส่งเสริมการมีส่วนร่วม พม./ตำรวจ/มหาดไทย สนับสนุนประสานเครือข่ายให้เข้มแข็ง - พัฒนาสถาบันครอบครัว และจัดสวัสดิการครอบคลุม ภาคี ศธ.พัฒนากระบวนการเรียนรู้ - จัดการเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้าน มีระบบติดตาม/ประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาศูนย์ประสานงานระดับ จังหวัด มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ การดำเนินงานแบบบูรณาการ - กำหนดเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน กระบวนการ มีการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการเสริมสร้างและใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ องค์กรมีความยืดหยุ่น/แนวทางดำเนินงานชัดเจน - สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างองค์กร มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครบถ้วน ทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย -พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น เยาวชนให้ครบถ้วน ทันสมัย บุคลากรมีความรู้ทักษะอย่างมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร พื้นฐาน 7 7

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นและเยาวชนมี ความรู้ ทักษะชีวิต และพฤติกรรมอนามัย เจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ส่งเสริมความรู้และ ทักษะด้านอนามัย เจริญพันธุ์ 1.สร้างและพัฒนา ความรู้ด้านอนามัย การเจริญพันธุ์แก่แกน นำเยาวชน 2.จัดค่ายเยาวชนเพื่อ กระตุ้นและส่งเสริม ด้านอนามัยการเจริญ พันธุ์ 3.รณรงค์สร้างกระแส สื่อประชาสัมพันธ์ใน เรื่องอนามัยการเจริญ พันธุ์ 4.จัดตั้งศูนย์ให้ คำปรึกษาที่เข้าถึง บริการได้อย่าง สะดวก ทันที ทุกตำบลมีศูนย์ให้ คำปรึกษาแก่วัยรุ่นโดย แกนนำเยาวชน กระทรวงศึกษาฯ อบต./ หน่วยงานใน กระทรวง สาธารณสุข พมจ. พัมนาชุมชน 8

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.ครอบครัวอบอุ่น สร้างครอบครัว อบอุ่นต้นแบบ 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อสร้างความ เข้าใจและกำหนด ตัวชี้วัดครอบครัว อบอุ่น 2.คัดเลือกครอบครัว อบอุ่นในชุมชน 3.สร้างครอบครัว อบอุ่นในพื้นที่ 3.สร้างเครือข่าย ครอบครัวอบอุ่นใน พื้นที่ 4.ส่งเสริมการสร้าง ความสัมพันธ์ คุณธรรม จริยธรรม ในครอบครัว ทุกชุมชนมีครอบครัว อบอุ่นที่ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย 1 ครอบครัว พมจ. อบต./อบจ เทศบาล หน่วยงานในสังกัด สาธารณสุข วัฒนธรรม จังหวัด 9

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนมีแผนงาน โครงการ โดยชุมชน เพื่อชุมชน สร้างการมีส่วนร่วม ในชุมชน 1.จัดเวทีประชาคมใน ชุมชนเพื่อจัดทำ แผนงานโครงการ 2.สร้างและใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการจัดทำแผน ชุมชน 3.ติดตาม/ประเมินผล ใน 1 ตำบล มี 1ชุมชน มีแผนงาน/โครงการ ด้านการอนามัยการ เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น อปท. พมจ. สาธารณสุข มหาดไทย พัฒนาชุมชน ประชาสังคม กศน. 10

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.สาธารณสุขพัฒนา ระบบบริการที่เป็นมิตร กับวัยรุ่น พัฒนาระบบบริการ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น 1.อบรมบุคลากร ผู้รับผิดชอบงานให้ ครอบคลุมทุกระดับ 2.จัดตั้ง/พัฒนา คลินิกบริการที่เป็น มิตรกับวัยรุ่น ครอบคลุมทุกระดับ 3.พัฒนาภาคี เครือข่ายในการส่งต่อ ข้อมูลข่าวสารและ ติดตามดูแลอย่าง ต่อเนื่อง ทุกอำเภอมีสถาน บริการที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น สสจ. สาธารณสุขทุก ระดับ ศธ. พม. อปท. 11

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.อปท./เอกชน/ สถานประกอบการ ร่วมมือสนับสนุน งบประมาณ ส่งเสริมการมีส่วน ร่วม 1.ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร 2.จัดเวทีประชาคม 3.จัดทำแผนและ ผลักดันแผนเข้าแผน ของท้องถิ่น 4.สนับสนุนให้มีการ จัดกิจกรรมพัฒนา อนามัยเจริญพันธุ์ อปท.มีการสนับสนุน แผนงาน/โครงการด้าน อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่น 1 แผนงาน/ โครงการ - อปท. สสจ.,สสอ., รพ.,รพ.สต. สพม.,สพป. พมจ. 12

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.หน่วยงานสังกัด กระทรวงศึกษาฯมีการ พัฒนากระบวนการ เรียนรู้ จัดการเรียนการ สอนเพศศึกษา รอบด้าน 1.แจ้งแนวทางการ ดำเนินงานเพื่อบูรณา การเรียนรู้เพศศึกษา ทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ 2.สร้างเครือข่าย โรงเรียนที่มี กระบวนการเรียนการ สอนเพศศึกษารอบ ด้านอย่างมี ประสิทธิภาพ 3.พัฒนาศักยภาพครู แกนนำและ ผู้เกี่ยวข้อง 4.ขยายโรงเรียนแกน นำให้ครอบคลุม/ โรงเรียนมัธยม ขยาย โอกาส/อาชีวศึกษา 5.พัฒนาศักยภาพ นักเรียนแกนนำใน สถานศึกษาเพื่อการ ขับเคลื่อน 6.จัดกิจกรรมเชิงรุก หน่วยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการมี การจัดการเรียนการ สอนเพศศึกษารอบ ด้าน -สถานศึกษาสังกัด ศธ. -หน่วยงานในสังกัด สาธารณสุข -พมจ. -ท้องถิ่น สพม. ,สพป. สสจ. ,สสอ. 13

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.พมจ. ตำรวจ มหาดไทย สนับสนุน ประสานเครือข่ายให้ เข้มแข็ง พัฒนาสถาบัน ครอบครัวและจัด สวัสดิการให้ ครอบคลุม 1.รณรงค์สร้างกระแส สานสายใยครอบครัว 2.คัดเลือก/ประกวด ครอบครัวอบอุ่น 3.สร้างเครือข่าย ระบบการส่งต่อในการ ช่วยเหลือด้าน สวัสดิการ ทุกชุมชนมีครอบครัว อบอุ่นที่ผ่านเกณฑ์ ครอบครัวอบอุ่นร้อยละ 60 จำนวนผู้ได้รับการ ช่วยเหลือด้าน สวัสดิการ พมจ. อปท. มหาดไทย ตำรวจ สาธารณสุข 14

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.ระบบประสานงาน/ การสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพและ รวดเร็ว พัฒนาช่อง ทางการสื่อสารให้ มีความหลากหลาย 1.จัดประชุมภาคี เครือข่ายให้ทราบ แนวทางการ ดำเนินงาน 2.จัดทำช่องทางการ ประสานงานการ สื่อสารระหว่างภาคี เครือข่ายกับวัยรุ่น 3.ประชาสัมพันธ์ ช่องทางการ ให้บริการถึง กลุ่มเป้าหมาย มีการประชุม 4 ครั้ง/ปี มีช่องทางให้บริการ แก่วัยรุ่นอย่างน้อย 2 ช่องทาง/ปี มีวัยรุ่นเข้าใช้บริการ ผ่านช่องทางการ ให้บริการ ทุกชุมชนมีช่องทาง การสื่อสารอย่างน้อย 2 ช่องทาง ทุกองค์กรมีช่องทาง การสื่อสารประสานงาน อย่างน้อย 2 ช่องทาง ประชาสัมพันธ์ จังหวัด -สาธาณสุข อบจ. ศึกษา อบต./เทศบาล วิทยุชุมชน 15

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบติดตาม ประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบ ติดตามประเมินผล 1.แต่งตั้งคณะทำงาน ติดตามและ ประเมินผล 2.ประชุมชี้แจงและ กำหนดแนวทางการ ติดตามประเมินผล 3.จัดทำแนวทาง/ แผนปฏิบัติการ ติดตามประเมินผล 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้เพื่อประเมินผล การพัฒนา มีระบบติดตามและ ประเมินผลแบบมีส่วน ร่วมของทุกหน่วยงาน ในทุกระดับ พม. ศธ. สธ. อบจ./เทศบาล/ อบต. หน่วยงานใน สังกัด กระทรวงศึกษา ธิการ กศน. กาชาด สถานพินิจ กระทรวง ยุติธรรม 16

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการสร้าง และใช้แผนที่ ทางเดิน ยุทธศาสตร์ 1.จัดอบรม เรื่อง การ ใช้แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์แก่ หน่วยงานภาคี เครือข่าย 2.จัดอบรมให้ความรู้ ในเรื่องอนามัยการ เจริญพันธุ์ 3.ถ่ายระดับแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ระดับจังหวัดสู่อำเภอ ตำบล 4.สนับสนุนการจัด กิจกรรมในการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ ของภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่ายที่เข้า อบรม เรื่อง แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ -อำเภอ ตำบล มีการใช้ แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ทุกระดับ มีการพัฒนาอนามัย เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น อบต./เทศบาล พม. สาธารณสุข ศธ. -พม. อบจ. 17

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.การดำเนินงานแบบ บูรณาการ กำหนดเป้าหมาย ในการทำงาน ร่วมกัน 1.กำหนดคณะทำงาน แบบบูรณาการ 2.กำหนดแนวทาง การดำเนินงานแบบ บูรณาการ 3.ประชุมจัดทำแผน ร่วมกัน 3.ดำเนินงานตาม แผน 4.ติดตามประเมินผล - มีคณะทำงานที่ ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบด้าน อนามัยเจริญพันธุ์ทุก ภาคส่วนในระดับ จังหวัด - ทุกระดับมีทีมทำงาน แบบบูรณาการ พม. ศธ. สธ. อบจ./เทศบาล อบต. สพท. สพม. กศน. สถานพินิจ 18

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.บุคลากรมีสมรรถนะ ทักษะที่ทันสมัย พัฒนาศักยภาพ บุคลากร 1.มีการเสริมสร้าง ความรู้ ทักษะให้กับ ภาคีเครือข่ายทุกระดับ 3.สร้างเครือข่ายงาน อนามัยเจริญพันธุ์ทุก ระดับพร้อมจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างหน่วยงาน 4.ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติงาน (สมรรถนะ)ของ บุคลากรพร้อมให้การ สนับสนุนส่วนขาดทุก 6 เดือน ทุกชุมชนมีทีมสหวิชาชีพ 1 ทีม มหาดไทย สสจ. อบจ./อบท. ศธ. เขตการศึกษา คณะ อนุกรรมการ อนามัยเจริญ พันธุ์ระดับ จังหวัด 19

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบฐานข้อมูล ข่าวสารอนามัยเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่น เยาวชน ให้ครบถ้วน ทันสมัย พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลข่าวสาร อนามัยเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่น เยาวชน ให้ครบถ้วน ทันสมัย 1.จัดตั้ง คณะกรรมการ คณะทำงานเกี่ยวกับ การเก็บข้อมูล 2.จัดประชุมเชิง ปฏิบัติการของ คณะกรรมการ/ คณะทำงานเกี่ยวกับ การเก็บข้อมูล 3.จัดระบบการ เชื่อมโยงให้สามารถ เข้าถึงง่าย 4.จัดตั้งศูนย์ประสาน ข้อมูลในระดับตำบล/ เทศบาล มีฐานข้อมูลครบถ้วน ทันสมัย ถูกต้อง และ สามารถไปใช้ได้จริง สำนักงานจังหวัด คณะกรรมการ อนามัยเจริญ พันธุ์ระดับ จังหวัด 20

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ชลบุรี ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.องค์กรมีวัฒนธรรม ที่เอื้อต่อการทำงาน ส่งเสริมองค์กรแห่ง การเรียนรู้ 1.จังหวัดต้องมีนโยบาย และแนวทางการ ดำเนินงานให้ชัดเจน 2.จัดประชุมเพื่อกำหนด วัตถุประสงค์ วางแผน การดำเนินงานและ ติดตามประเมินผล 3. การติดตามผลการ ดำเนินงานเพื่อนำมา ปรับปรุง 4.จัดประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อกำหนด แผนการดำเนินงานและ การติดตามประเมินผล 5.ติดตามประเมินผล 6.ส่งเสริมสนับสนุนด้าน บุคลากร งบประมาณ วิชาการ 7.ส่งเสริมการทำงาน แบบบูรณาการกับภาคี เครือข่าย 8.พัฒนาแผนงาน/ โครงการแบบบูรณาการ 9.สร้างขวัญและกำลังใจ ให้กับคนทำงาน กำหนดเป็นวาระ ของจังหวัด ทุกหน่วยงานมี นโยบายที่ชัดเจน คณะกรรมการ อนามัยเจริญระดับ จังหวัด สสจ. อปท. ทุกหน่วยงาน ของจังหวัด 21