เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
เด็กไทยทำได้ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ผู้แทนกรมอนามัย ตรวจราชการประจำปีงบประมาณ 2553
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
นายแพทย์สมยศ เจริญศักดิ์
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ถอดรหัสสุ่มประเมิน แท่ง เชียงราย / พะเยา เจาะลึกเฉพาะเชียงราย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548 เป้าหมายที่ 1 ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเหมาะสมตามกลุ่มวัย ตัวชี้วัดหลัก 1. ร้อยละ 80 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัดรอง 1. รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง เป็น รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 2. ร้อยละ 50 ของ รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การกระบวนการ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ 3. ร้อยละ 100 ของศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์การประเมินศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน 9 ข้อ 4. ร้อยละ 30 ของศูนย์เด็กเล็ก ผ่านเกณฑ์การประเมินศูนย์เด็กเล็กน่าอย่า (ระดับดี + ดีมาก) 5. ทุกจังหวัดมีการแก้ไขปัญหาอนามัยแม่และเด็ก โดยการดำเนินงานของ MCH Board 2. ประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไป มีการออกกำลังกายต่อเนื่อง อย่างน้อยวันละ 30 นาที 3 วันต่อสัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 1. ทุกหมู่บ้านมีชมรมสร้างสุขภาพ 2. ร้อยละ 20 ของเทศบาลมีสวนสาธารณะ ผ่านเกณฑ์สวนสาธารณะน่ารื่นรมย์ อย่างน้อย 1 แห่ง 3. ร้อยละ 10 ของเทศบาล / อบต. มีสถานที่ออกกำลังกาย ได้มาตรฐานอย่างน้อย 1 แห่ง

เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548 เป้าหมายที่ 2 ประชาชนได้รับความคุ้มครองด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัดหลัก 1. ร้อยละ 50 ของโรงเรียนทุกสังกัดได้มาตรฐาน “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ” ตัวชี้วัดรอง 1. โรงเรียนทุกสังกัด ทุกแห่ง มีการดำเนินการตามกระบวนการ “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ” 2. ร้อยละ 80 ของโรงเรียนประถมศึกษาทุกสังกัด จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับเทศบาลมีกระบวนการดำเนินงานเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ อย่างน้อยร้อยละ 40 เพื่อพัฒนาสู่เทศบาลแข็งแรง 1. ร้อยละ 10 ของเทศบาลที่ผ่านเกณฑ์เทศบาลแข็งแรง

เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548 เป้าหมายที่ 2 ประชาชนได้รับความคุ้มครองด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัดหลัก 3. ร้อยละ 40 ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste ตัวชี้วัดรอง 1. ร้อยละ 40 ของอำเภอทั่วประเทศมีชมรมผู้ประกอบการค้าอาหารระดับอย่างน้อย 1 ชมรม 2. ร้อยละ 10 ของร้านอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste และ มีใบรับรองเมนูชูสุขภาพ 3. ร้อยละ 30 ของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐาน (Clean Food Good Taste ) มีการสุ่มประเมินตรวจสอบเชิงคุณภาพ 4. ร้อยละ 60 ของประชาชนรู้จักป้าย “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste ) 5. มีระบบ E-learning เรื่อง สุขาภิบาลอาหาร

เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548 เป้าหมายที่ 2 ประชาชนได้รับความคุ้มครองด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัดหลัก 4. ตลาดประเภทที่ 1 สะอาดได้มาตรฐาน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ตัวชี้วัดรอง 1. ตลาดสดประเภทที่ 1 ทุกแห่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านกฎหมายเบื้องต้น 13 ข้อ 2. มีการจัดตั้งชมรม / สมาคม เจ้าของตลาด ศูนย์อนามัยละ 1 ชมรม 3. มีชมรมผู้ขายของในตลาดอย่างน้อย 1 จังหวัด 1 ชมรม 4. ร้อยละ 10 ของตลาดประเภทที่ 1 ที่ยังไม่มีรางระบายน้ำเสีย ต้องดำเนินการให้มีรางน้ำเสีย ตรามเกณฑ์มาตฐาน 5. ร้อยละ 30 ของตลาดที่ได้มาตรฐานมีการสุ่มประเมินตรวจสอบเชิงคุณภาพ