งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
การควบคุมอาหารปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อาหาร ของกรมอนามัย ตาม พรบ. การสาธารณสุข 2535 หมวด 7,8และ9 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

2 ประชาชนได้รับอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย
Time line สุขาภิบาลอาหารและน้ำของประเทศ ประชาชนได้รับอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย Optimal Goal Targets/setting แหล่ง/สถานบริการอาหาร สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน Area Implement พื้นที่/ท้องถิ่นดำเนินการตามกฎหมาย ผู้ประกอบการและเครือข่ายทำตามกฎหมาย ผู้บริโภคแจ้งข้อมูล มาตรฐาน/คู่มือ/เทคโนโลยี/ระบบ ระบบ มาตรการและแนวทาง ระบบ มาตรการและแนวทาง Output ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี เร่งรัด ถ่ายทอด เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ระบบการสนับสนุน(ข้อมูล/เฝ้าระวังฯ) Internal System

3 5 Factors Food Sanitation
พรบ.การสาธารณสุข 2535 หมวด8 หมวด8 หมวด8 หมวด7 หมวด9 ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ 5 Factors Food Sanitation

4 Thailand Food and Water Sanitation Activity Relation
CFGT,Healthy Markets etc. Central and Region Data and Reporting Area Data and Reporting Project Base Phy/Bio/Chem/Beh ประปาดื่มได้/พระราชดำริ Physical Biological Chemical ร้าน/แผง/ตลาด/โรงเรียน AC โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้าน/แผง/ตลาด อาหารชายแดน Quality,M&E Phy/Bio Phy/Bio/Chem/Beh รถเร่/ตลาดนัด Setting Base Area Base ระบบประปา/แหล่งธรรมชาติ ถัง/ขวด/หยอดเหรียญ เทศบาล,อบจ,อบตฯ กิจการหมวด7,8,9

5 สรุปกรอบการดำเนินงานตามนโยบายกรมอนามัย
Formulate ,Advocate ,Regulate องค์กรปกครองท้องถิ่น อนุกรรมการสาธารณสุขฯ กระทรวง เขตสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายตามพรบ.การสาธารณสุข หมวด7,8,9 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ศูนย์อนามัย สาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานในสังกัด *ร้านอาหาร/แผงลอย *ตลาดสด/ตลาดนัด *โรงอาหาร/โรงครัว *ระบบประปา *คุณภาพน้ำดื่ม *อนามัยสิ่งแวดล้อม *อาชีวอนามัย *ส่งเสริมสุขภาพ *คุ้มครองผู้บริโภค *ควบคุมโรค/พัฒฯ CFGT+,ตลาดนัดน่าซื้อ,โรงครัว,โรงอาหาร,คุณภาพน้ำบริโภคฯลฯ

6 โครงการตลาดนัดสะอาด อาหารปลอดภัย
นโยบายสำคัญ 2557 โครงการตลาดนัดสะอาด อาหารปลอดภัย  โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus : CFGT+)  โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำดื่มสะอาดปลอดภัย เพื่อส่งเสริมสุขอนามัยจากแหล่งผลิตและสถานที่สาธารณะ 6

7 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหารและ
ภารกิจสำคัญ 2557 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหารและ จัดทำบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารใน อปท.ต้นแบบ  โครงการพัฒนาคุณภาพและส่งเสริมการจัดการ น้ำสะอาดเพื่อการบริโภค  โครงการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 7

8 โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย
โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย เป้าหมาย : ตลาดนัด 1 แห่งต้นแบบ/จังหวัด หลักเกณฑ์ 1.ทำการสำรวจตลาดนัดในพื้นที่ 2.ทำการตรวจแนะนำตามมาตรฐาน 3.มีการตรวจสอบสารปนเปื้อน และ ปชส.ผลการตรวจสอบ 4.มีแผงสินค้าเกษตรปลอดสาร/เกษตรอินทรีย์ 5.ผู้ขายในตลาดผ่านการอบรม/มีความรู้ 5.มีกิจกรรมส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อม 6.มีกิจกรรมของชมรม/กลุ่ม/เครือข่ายผู้ขายของ 7.เป็นที่ศึกษาดูงาน

9 โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย
โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย ส่วนกลาง จัดแถลงข่าว - ประชุมมอบนโยบาย - จัดกิจกรรมรณรงค์ ตรวจเยี่ยมตลาด - ปชส.ผ่านสื่อต่างๆ - นิเทศ ติดตาม ศูนย์เขต -ประสาน สสจ./ อปท. สนับสนุน สสจ./ อปท.พัฒนาตลาด ร่วมสุ่มสำรวจความปลอดภัยอาหาร - สนับสนุน นิเทศ ติดตาม สสจ. -ประสาน อปท.สำรวจ/ตรวจแนะนำ/คัดเลือกตลาด สนับสนุน อปท./เจ้าของพัฒนาตลาด ร่วมสุ่มสำรวจความปลอดภัยอาหาร - สนับสนุน นิเทศ ติดตาม

10 โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี
โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus : CFGT+) เป้าหมาย : 3-5 แห่ง/จังหวัด หลักเกณฑ์ “ร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี” 1.ผ่านเกณฑ์ อาหารสะอาด รสชาติอร่อย 2.ส้วมในร้านผ่านเกณฑ์ HAS 3.มีอ่างล้างมือสำหรับผู้บริโภค 4.มีช้อนกลางสำหรับผู้บริโภค 5.ผักสดปลอดสารพิษ ยาฆ่าแมลง 6.ผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมและมีบัตรประจำตัวฯ 7.ใช้ถุงมือสัมผัสอาหาร

11 Clean Food Good Taste Plus : CFGT+
ส่วนกลาง - ประชุมผู้เกี่ยวข้อง - ปชส.ผ่านสื่อต่างๆ -สนับสนุน ป้าย ผ้ากันเปื้อน ชุดทดสอบ - ตรวจประเมิน ตรวจเยี่ยม ประเมินผล ศูนย์เขตและสสจ. -ประสาน อปท.คัดเลือกพื้นที่ ต้นแบบ ตรวจแนะนำ และตรวจประเมิน รับรอง CFGT+ สนับสนุน นิเทศ ติดตาม

12 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหารและ
จัดทำบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารใน อปท.ต้นแบบ เป้าหมาย : 5,000 คน ส่วนกลาง จัดตั้งคณะกรรมการ – ประสาน ศูนย์ สสจ. อปท. และ FSI ประชุมคณะกรรมการ – เตรียมการ และจัดการอบรม – สรุป ประเมินผล – ติดตามผลการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหาร เผยแพร่รูปแบบการจัดอบรมสู่ อปท.อื่นๆ -ปชส.ผ่านสื่อต่างๆ ศูนย์เขตและสสจ. -ประสาน อปท. และ FSI ร่วมกับส่วนกลางในการจัดอบรม ร่วมติดตามผลการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหาร

13 โครงการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
เป้าหมาย ร้านอาหาร แผงลอย ตลาดนัด - จังหวัดที่เกิดเหตุฉุกเฉิน/สาธารณภัย/พท.เสี่ยง ส่วนกลาง -ประสาน ชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง – วิเคราะห์/แปรผลข้อมูลที่เกี่ยวข้อง-จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ การเฝ้าระวัง และปชส – ประชุมชี้แจงจนท.ศูนย์เพื่อวางแผนการดำเนินงาน – ดำเนินการเฝ้าระวัง - สรุปผล ศูนย์เขตและสสจ. -ศูนย์เขตดำเนินการในพื้นที่ ประสานงาน สสจ. อปท. ร่วมดำเนินการ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่ ดำเนินการเฝ้าระวังฯ -รวบรวมสรุปผล

14 กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี

15 ชื่อ : นายธนชีพ พีระธรณิศร์ ตำแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Tel Fax ,4186 Mobile : , Facebook : Line ID : thanacheep


ดาวน์โหลด ppt กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google