Resource Leveling การจัดการทรัพยากร โดย อ.ดร.เทอดธิดา ทิพย์รัตน์ สาขาบริหารการก่อสร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การบริหารจัดการทรัพยากร Resource management ทรัพยากรประกอบด้วย วัสดุ คนงาน เครื่องจักร และ ผู้รับเหมาช่วงResources include material, labor, equipment, and subcontractor. สมมติฐานของวิธีการ CPM คือมีทรัพยากรพร้อมเมื่อเวลาที่จะใช้งาน The original assumption in CPM was that material, labor, equipment, and other needs will be available when required. อย่างไรก็ตามสมมติฐานที่ว่าทรัพยากรพร้อมที่จะใช้งานไม่เป็นจริง Since resources are looked upon as scare, this assumption is not practical. การบริหารจัดการทรัพยากรเป็นสิ่งที่ต้องพิจารณา Thus, resource management comes in order.
การบริหารจัดการทรัพยากรทำเพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอต่อการดำเนินงานก่อสร้าง Supply and support of field operations so that: -เพื่อให้สามารถทำงานให้สำเร็จได้ตามเวลาที่กำหนด The established time objectives can be met. -เพื่อให้ต้นทุนมีค่าตามงบประมาณที่กำหนดไว้ The costs can be kept within the construction budget. การบริหารจัดการทรัพยากรจึงเกี่ยวข้องกับทั้ง Resource management involves: -การวางแผนงาน Planning. -การติดตามงาน Follow up
การวางแผนจัดการทรัพยากร Resource planning การรวมกันของทรัยพากรที่ใช้ในแต่ละวัน Detailed compilation of daily resource requirements: 1-การจัดทำตารางการใช้ทรัพยากร Tabulation of resource requirements
2-สรุปการใช้ทรัพยากรของโครงการ(ตารางและแผนภูมิรูปภาพ) Project resource summary (Tabulation & time-scaled diagram). ความต้องการกลุ่มคนงานในแต่ละวันสำหรับการวางแผนแบบเริ่มต้นเร็วที่สุด Daily demand of crews based on early times
เปรียบเทียบระหว่างทรัพยากรที่ต้องการกับทรัพยากรที่มีอยู่ Check required against available resources: ข้อมูลประกอบการพิจารณาประกอบด้วย ทรัพยากรที่ต้องการ ทรัพยากรที่มีอยู่ เวลาในการทำงานของโครงการ Given: Resource requirements, resource availability, project duration. สิ่งที่ต้องหา คือ มีความเป็นไปได้หรือไม่ที่จะทำงานให้สำเร็จภายใต้ทรัพยากรที่จำกัด Required: Is it possible to finish with the time limitation specified คำตอบคือ Answer: เป็นได้ หากแต่จะต้องจัดตารางเวลาการทำงานของแต่ละกิจกรรมใหม่ โดยใช้ประโยชน์ของ floats ของแต่ละกิจกรรม เพื่อจัดให้ใช้ทรัพยากรให้ได้อย่างสมดุล หรือเรียกว่า Resource leveling: Yes: Reschedule the activities with floats to achieve smoother resource requirements (resource leveling)
ไม่ได้ หากทรัพยากรที่ต้องการมีไม่เพียงพอ การหาทรัพยากรเพิ่มหรือการนำผู้รับเหมาช่วงมาช่วยในการทำงานก็สามารถช่วยได้ No: If there is a localized shortage in resources try to work out utilizing activities’floats, working additional shifts, or subcontracting part of the work. นอกจากนี้ควรพิจารณาหาว่า Otherwise, seek out an activity schedule that: - จะทำอย่างไรที่จะทำให้ทรัยพากรที่ต้องการอยู่ในปริมาณที่กำหนด Keep resource requirements within the defined level. - ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละงานยังคงไว้หรือหากต้องยืดเวลาการทำงานออกไปก็จะยืดออกไปไม่มากนัก Maintain job logic at a minimum extension of job duration.
การบริหารจัดการทรัพยากรจึงเป็นการทำให้ทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละวันอยู่ในปริมาณที่คงที่ This is the process of smoothing out daily resource demand. ลดการเปลี่ยนแปลงของทรัยพากรที่จะต้องทำให้ต้องจ้างคนเพิ่มหรือเอาคนออก เพราะจะทำให้ Variation in demand, recurrent hiring and laying off of personnel on a short-time basis are: มีปัญหาในการทำงาน Troublesome. ทำงานอย่างไม่มีประสิทธิภาพ Inefficient. เพิ่มต้นทุนในการทำงาน More expensive.
ทรัพยากรที่ต้องการในแต่ละวัน Daily Resource Requirements Note: The duration is 16 days and the daily resource requirement in some days exceeds the level of 13 crews.
ต้องการ Required: ทบทวนแผนการทำงานของกิจกรรมดังต่อไปนี้ Re-schedule the activities such that: 1. จำนวนคนงานมากที่สุดที่มีคือ 13 คนต่อวัน Maximum available crews per day is 13 crew. 2.ให้ความสำคัญกับวันเริ่มต้นงานที่ช้าที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ Priority is given to the activity with the least late start. 3.ในกรณีที่มี 2 กิจกรรมที่มีวันเริ่มต้นงานที่ช้าที่สุดเท่ากัน ให้พิจารณาเป็นพิเศษในกิจกรรมที่มี total float น้อยกว่า: In case of two activities with the same late start, priority is given to that of less total float.
Resource leveling การจัด/ปรับระดับทรัพยากรให้ปริมาณการใช้งานเป็นไปอย่างสม่ำเสมอเป็นวิธีการเชิงตัวเลขวิธีหนึ่งเพื่อการจัดการโครงการโดยไมมีข้อจำกัดของปริมาณทรัพยากรนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงโยกย้ายหรือเลื่อนกิจกรรม (Activities)ที่มี float ภายในช่วง float จากแผนการที่วางไว้ด้วยวิธีการ Critical Path Method ให้ได้แรงงานที่สม่ำเสมอมากที่สุด แต่มีทรัพยากรในโครงการอยู่จำกัด ทำให้บางช่วงเวลาทรัพยากรไม่เพียงพอ
Resource scheduling การจัดการแผนงานเพื่อใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด โดยอาจทำให้เวลาของโครงการเพิ่มขึ้น ทำการเลื่อนงานที่ไม่ได้อยู่บน critical path ออกไปโดยเลื่อนงานที่มี total float มากที่สุดก่อน หรือ ให้เริ่มทำงานที่มี total float น้อยที่สุดก่อน
วัตถุประสงค์ของการทำ Resource Leveling เพื่อจัดการทรัพยากรที่จำกัด ลดปัญหาที่จะเกิดขึ้นในแต่ละวัน ให้ทรัพยากรแต่ละชนิดทำงานได้อย่างต่อเนื่อง
Load diagram resource A
Load diagram resource B
เวลา ทรัพยากร(คน)
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันไม่คงที่
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันไม่คงที่ Late start schedule
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันไม่คงที่ Selected schedule
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันคงที่
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันคงที่
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันคงที่
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันคงที่
กำหนดให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันคงที่
Man-day 10 28 27 3 6 32 18 โครงการนี้รับพนักงานขับเครนใหม่จำนวน 6 คน โดยคนที่ 6 สามารถมาทำงานได้ในวันที่ 7 จะต้องจัดทรัพยากรอย่างไร
Man-day 10 28 27 3 6 32 18 5 5 5 5 5 5 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 0 0 1 1 1 3 2 -1-1-1 -1 0 0 0 0 0 0 -2-2 0 0 0
Man-day 10 28 27 3 6 32 18
คนงานที่มีทั้งหมดเท่ากับ 12 คน Man-day 10 10 16 12 8 16 24 24
Man-day 10 10 16 12 8 16 24 24
Man-day 10 10 16 12 8 16 24 24
ให้คนงานในแต่ละกิจกรรมในแต่ละวันไม่คงที่
การจัดทรัพยากรมากกว่า 1 ชนิด
Early start schedule
Latest start schedule
Schedule for minimum equipment and then minimum men
Early start schedule
Latest start schedule
Schedule for minimum equipment and then minimum men
Resource scheduling TF= FF= R=
จำนวนคนไม่เกิน 70 คน
เลื่อน 1-2, 2-3, 3-6 และ 1-7, 7-8 โดยพิจารณาถึง float ของกิจกรรมดังกล่าว โดยระวังอย่าให้เกิดการซ้อนทับกับกิจกรรม 1-4 มีเพียงกิจกรรม 7-8 เท่านั้นที่เคลื่อนที่ภายใต้ float ที่มีอยู่ เส้นทางวิกฤติคือ 1-7, 7-8, 8-9
กิจกรรม 3-6 และ 6-9 ได้เพิ่ม float อีก 3 สัปดาห์ ทำให้เปลี่ยนแปลงแผนการทำงานโดยให้ 3-6 และ 6-9 ทำหลัง 7-8 แล้วเสร็จ
Resource scheduling
โจทย์พิเศษ
The owner set a date of completion for the sports field Processes 11 to 18 for the 40th day of the project, and the date of completion for the sports hall Processes 1 to 10 for the 70th day. เจ้าของงานต้องการให้งานในส่วนของสนามกีฬา กิจกรรม 11 ถึง 18 เสร็จใน 40 วัน และต้องการให้งานในส่วนของโรงยิม กิจกรรม 1 ถึง 10 เสร็จใน 70 วัน