หน่วยตรวจพิเศษหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Lean Health Care Lean. คือ. TQM. โดยการกำจัด Waste
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
L051 ชื่อเรื่อง / โครงการ หัวหน้าทีม ชื่อ...นางสาวสุรีรัตน์ นามสกุล...ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์ สมาชิกทีม ชื่อ...น.ส.จารุวรรณ... นามสกุล..เหล่านรินทวุฒิ
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
การประยุกต์ใช้ในงานบริการสุขภาพ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
โครงการ Lean เรื่องกระบวนการรับเวร-ส่งเวร
โดย นางภารดี เจริญวารี
การสมัครงานออนไลน์ (E-Application)
การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง.
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
A3 PROBLEM REPORT A3 PROBLEM SOLVING พญ. พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
สรุปการประชุม เขต 10.
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
ชื่อโครงการ.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
Siriraj Lean day วันศุกร์ 11 มีนาคม 2554
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยตรวจพิเศษหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6 L046 เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการตรวจหัวใจด้วยเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง (holter monitoring) น.ส. เกษรี ปั้นลี้ (หัวหน้าโครงการ) พ.ญ.ศรีสกุล จิรกาญจนากร น.ส. พวงพยอม สิทธิชารัตน์ นางกาญจนา หวานสนิท นางสุธีรา พฤทธิ์ไพศาล นางเทียมจันทร์ เหวันต์ ผู้สนับสนุน ศ.นพ.รุ่งโรจน์ กฤตยพงษ์ นางสุเชาวนี อิทธิวิทย์ หน่วยตรวจพิเศษหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6

2. ขอบเขตของเรื่อง/โครงการ (SIPOC) Supplier/ Providers Inputs Process Output Customer -พยาบาล -ผู้ช่วยพยาบาล -ผู้ปฏิบัติงานบริหาร -แพทย์ เครื่อง Holter คอมพิวเตอร์ แผ่นซีดี แผ่นบันทึกข้อมูล จุดเริ่มต้น ลงทะเบียน จุดสิ้นสุด ผู้ป่วยได้รับผลการตรวจ เจ้าของ นางสาวเกษรี ปั้นลี้ ผู้สนับสนุน หัวหน้าหอผู้ป่วย แนวทางการปฏิบัติงานชัดเจน ระยะเวลาในการรอผลการตรวจเร็วขึ้น สถิติการให้บริการเพิ่มขึ้น การส่งซ่อมบำรุงเครื่องและอุปกรณ์รวดเร็วขึ้น การชำรุดของเครื่อง / อุปกรณ์น้อยลง ลูกค้าภายนอก -ผู้ป่วย ลูกค้าภายใน

3. แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า (VSM) / Flow (ก่อนปรับปรุง) RN PN แพทย์ เตรียมความพร้อมของเครื่องมือ รับแฟ้มการตรวจ - ติด red dot - ติดสาย ECG ปลดการเชื่อมต่อของสาย ECG และเครื่อง แปลงข้อมูลจาก raw data เป็นผลการตรวจ ผู้ป่วยมาติด หรือ มาถอด Holter ใช่ สิ้นสุด load ข้อมูล ให้คำแนะนำ - การดูแลเครื่อง - การปฏิบัติตัว set monitor ตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของข้อมูล ? ติด ถอด เครื่องว่าง ไม่ใช่

4. Waste ( DOWNTIME) - สิทธิ์การรักษาไม่ผ่าน หัวข้อ ความสูญเปล่า Defect rework: ทำงานซ้ำเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง เครื่อง Holter / สายสื่อชำรุด ทำให้ติดเครื่องซ้ำ Overproduction: การผลิตหรือให้บริการมากเกินจำเป็น Waiting: การรอคอย ระยะเวลารอคิวนัดตรวจ นับตั้งแต่วันที่แพทย์มีคำสั่งให้ติดเครื่องจนถึงวันที่ได้ติดเครื่อง (waiting list) นานประมาณ 1 เดือน (ค่าเฉลี่ย = 30.2 วัน) เวลาที่ใช้ในการแปลผลการตรวจนาน Not using staff talent: ภูมิรู้ที่สูญเปล่า - ขาดบุคลากรที่มีทักษะการใช้เครื่อง การอ่านและการแปลผล - บุคลากรไม่ชำนาญในการใช้เครื่องมือ Transportation: การเดินทาง - สิทธิ์การรักษาไม่ผ่าน Inventory: วัสดุคงคลัง - ขาดการจัดการเตรียมความพร้อมของเครื่องมือ Motion: การเคลื่อนไหว Excessive processing:ขั้นตอนมากเกินจำเป็น

5. แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า(VSM) / Flow (หลังปรับปรุง) RN PN แพทย์ เตรียมความพร้อมของเครื่องมือ รับแฟ้มการตรวจ - ติด red dot - ติดสาย ECG ปลดการเชื่อมต่อของสาย ECG และเครื่อง แปลงข้อมูลจาก raw data เป็นผลการตรวจ ผู้ป่วยมาติด หรือ มาถอด Holter ใช่ สิ้นสุด load ข้อมูล ให้คำแนะนำ - การดูแลเครื่อง - การปฏิบัติตัว set monitor ตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของข้อมูล ? ติด ถอด เครื่องว่าง ไม่ใช่

6. สรุปการดำเนินการด้วย Lean A3 Report

6.1 เหตุผลการทำ (Reason for Action) ระยะเวลารอคิวนัดตรวจนาน ระยะเวลารอผลการตรวจนาน ไม่พึงพอใจในบริการ ระบบจัดการยังมีโอกาสพัฒนา

6.3 เป้าหมาย (Target state) ลดระยะเวลารอคิวนัดตรวจ ลดระยะเวลารอผลการตรวจ มีการบริหารจัดการเครื่อง Holter ที่เหมาะสมและคุ้มค่า

6.4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Gap Analysis)

6.5 แนวทางในการแก้ไข (Solution Approach) สาเหตุ: Root cause addressed แนวทางแก้ไข: Proposed solution วัตถุประสงค์: Supports Objective ขาดจัดการบริการ ตรวจ Holter ที่ดี ขาดผู้เชี่ยวชาญในการ แปรผลข้อมูล เครื่อง Holter ไม่ เพียงพอในการ ให้บริการ พัฒนาระบบการจัดการ บริการ พัฒนาศักยภาพของ บุคลากร บริหารจัดการเครื่อง Holter เพิ่มประสิทธิภาพการ บริการ ลดระยะเวลาการรอ คอยการตรวจ ลดระยะเวลาการแปร ผลการตรวจ

6.6 การดำเนินการแก้ปัญหา (Solution Experiments) แนวทางแก้ไข: Solution การปฏิบัติ: Actual ว.ด.ป. ที่เริ่มทำ: Date โดยใคร: By ผลลัพธ์: Result สรุปความก้าวหน้าของการทำงาน: Conclusion พัฒนาระบบการจัดการ บริการ 2. พัฒนาศักยภาพของ บุคลากร 3. การบริหารจัดการเเครื่อง Holter กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบ จัดทำคู่มือปฏิบัติงานเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ การบริหารจัดการปรับอัตรากำลังตามภาระงาน และตามช่วงเวลา 1. มีการแนะนำ (orientation) ระบบ งานแก่แพทย์ผู้หมุนเวียนมาให้บริการอ่านผล Holter 2.2 จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษา 2.3 จัดให้มีคู่มือการใช้งานเครื่อง และการแปลผลตรวจ 2.4 กำหนดระยะเวลาการออกผลตรวจ 1 . จัดซึ้อเครื่อง Holter ทดแทน 2. ระบบการประสานงานระหว่างอุปกรณ์การแพทย์ของโรงพยาบาลกับบริษัท 3. มีระบบการบำรุงรักษา (maintenance) เครื่องมือ / อุปกรณ์ 1 พ.ย.48 น.ส.พวงพะยอม นางสุธีรา  นางสุเชาวนี พญ.ศรีสกุล ศ.นพ.รุ่งโรจน์ น.ส.เกษรี ศ.พญ.ดวงมณี นางกาญจนา นางเทียมจันทร์ มีแนวทางการปฏิบัติงานชัดเจน การทำงานมีความคล่องตัวมากขึ้น ระยะเวลาในการรอผลการตรวจเร็วขึ้น (ปี 2548 = 18 วัน, ปี 2549 = 12 วัน, ปี 2550 = 7 วัน) สถิติการให้บริการเพิ่มขึ้น ปี 2548 = 580 ราย , ปี 2549 = 658 ราย - ระยะเวลาการส่งซ่อมเครื่องและอุปกรณ์รวดเร็วขึ้น - การชำรุดของเครื่อง / อุปกรณ์น้อยลง

6.7 กิจกรรมสำคัญที่ต้องทำ(Outstanding Actions) ผู้รับผิดชอบ: By Whom วันที่ทำ: By Date การจัดทำมาตรฐาน และคู่มือการปฏิบัติงาน เกษรี 2548 2. ติดตามประเมินผล และรายงานความก้าวหน้าของการปฏิบัติการอย่างต่อเนื่องทุก 2 เดือน 2549 3. ปรับปรุงคู่มือให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2550

(มากกว่าหรือเท่ากับ 3 รอบการวัดผล) 8. ผลลัพธ์ (Results) ตัวชี้วัด (KPI) เป้าหมาย (Target) ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ (มากกว่าหรือเท่ากับ 3 รอบการวัดผล) ระยะเวลาการการรอตรวจ ระยะเวลาการรอผลตรวจ อัตราการใช้เครื่อง Holter ความคุ้มทุนของเครื่อง Holter 7 วัน 3 วัน 100% 100% (1.46 ปี) 1 วัน

9.สรุปบทเรียน (Lessons Learnt) 1. ใช้ข้อมูลในการแก้ปัญหาที่สะท้อนผลลัพธ์ของงาน และใช้วิกฤตเป็น โอกาสในการพัฒนางาน 2. เข้าใจในกระบวนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ องค์รวม และสหสาขา วิชาชีพ 3. พัฒนาด้านความเป็นผู้นำ ความคิดสร้างสรรค์ และการทำงานเป็นทีม 4. เพิ่มจิตสำนึกต่อการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ โดยพิจารณารอบด้าน ทั้งภาพกว้างและประเด็นเจาะลึก 5. ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้

วิวัฒนาการของเครื่อง Holter monitoring

ประดิษฐ์อุปกรณ์ ในการป้องกัน การดึงสายสื่อ (leads) ในผู้ใช้บริการที่เป็นเด็กเล็ก ทำให้ลดอุบัติการณ์การมาติดเครื่องซ้ำ