การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
Graduate School Khon Kaen University
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
Cooperative Education
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
ยินดีต้อนรับ ผู้บริหาร คณะครู และ บุคลากร โรงเรียนหาดใหญ่อำนวยวิ ทย์บริหารธุรกิจ และ โรงเรียนหาดใหญ่อำนวย วิทย์พณิชยการ ศึกษาดูงานการจัดการ ความรู้ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
งานกิจการนิสิต
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ฝ่ายประกัน คุณภาพ (Quality Assurance Department).
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
ประชุมหัวหน้าแผนกวิชา เรื่อง ร่วมพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)

การจัดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM) ครอบคลุมองค์ประกอบทางวิชาการของทุกคณะ / สาขาวิชา บัณฑิตวิทยาลัยและวิทยาลัยนานาชาติ องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร-ประมวลการสอน องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนทั่วไป องค์ประกอบที่ 3 การเรียนการสอน E-Classroom องค์ประกอบที่ 4 การเรียนการสอน – TBL (TEAM BASED LEARNING) องค์ประกอบที่ 5 การเรียนการสอน – Seminar

องค์ประกอบที่ 6 การเรียนการสอน – Project องค์ประกอบที่ 7 วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ องค์ประกอบที่ 8 การวัดผล องค์ประกอบที่ 9 การประเมินผล องค์ประกอบที่ 10 การประเมินการสอนโดยนักศึกษา องค์ประกอบที่ 11 คุณธรรม จริยธรรม/ จรรยาบรรณวิชาชีพครู องค์ประกอบที่ 12 การดูแลและการพัฒนาวิชาการของนักศึกษา องค์ประกอบที่ 13 การพัฒนาวิชาการอาจารย์ตามมาตรฐานคุณภาพ ตัวบ่งชี้ของ สมศ. (ผลงานวิชาการ) องค์ประกอบที่ 14 การดำเนินการเรื่องหลักสูตรและการประกันคุณภาพ หลักสูตร ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

องค์ประกอบที่ 15 การบริการวิชาการแก่ชุมชนตามอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ในฐานะ ที่สังกัดกลุ่มสถาบันที่เน้น การผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคมของ สมศ. องค์ประกอบที่ 16 การดำเนินการดูแลสนับสนุน (Monitoring) การปฏิบัติตาม กระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน (เพื่อการพัฒนาคน พัฒนางานและการได้มาซึ่งข้อมูลเชิงประจักษ์ประกอบการ ประเมินปลายปีควบคู่กับการประเมินผลตนเอง) องค์ประกอบที่ 17 การดำเนินการตามนโยบาย ประกาศ คำสั่ง ระเบียบ บันทึก มติที่ประชุม ที่เกี่ยวกับวิชาการ องค์ประกอบที่ 18 การนิเทศการสอน

ตัวอย่างเกณฑ์วัดระดับความรู้ องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร-ประมวลการสอน ระดับที่ 5 : มีการพัฒนาหลักสูตรตามระยะเวลาและสอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ระดับที่ 4 : มีการประกันคุณภาพของหลักสูตรใน 4 ประเด็นตามเกณฑ์ ของ สกอ. คือ 1) การบริหารหลักสูตร 2) ทรัพยากรการ จัดการเรียนการสอน 3) การสนับสนุนและการให้คำแนะนำ นักศึกษา 4) ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความ พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ระดับที่ 3 : ดำเนินการสอนตามหลักสูตร-ประมวลการสอนทุกรายวิชาและ ดำเนินการตามระบบงานวิชาการของมหาวิทยาลัย ระดับที่ 2 : ดำเนินการสอนตามหลักสูตร-ประมวลการสอนทุกรายวิชา ระดับที่ 1 : มีหลักสูตร-ประมวลการสอนตามเกณฑ์ของ สกอ.

องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนทั่วไป ระดับที่ 5 : การดูแลช่วยเหลือและให้โอกาสนักศึกษาขอคำปรึกษาสิ่งที่ เรียนเป็นรายบุคคล การดูแลนักศึกษาที่เรียนอ่อนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้นักศึกษาติดตามบทเรียนได้ทัน รวมทั้งมีระบบข้อมูลของ นักศึกษาเรียนอ่อน ทั้งในทางวิชาการและสภาพชีวิต ระดับที่ 4 : การมอบงานแก่นักศึกษาเพื่อการเตรียมตัวสำหรับการเรียนครั้ง ต่อไป และมีการตรวจสอบการเตรียมตัวเมื่อเข้าห้องเรียน ระดับที่ 3 : การดูแลนักศึกษาเรื่องการแต่งกาย การมาสาย การขาดเรียนความ มีระเบียบวินัยความร่วมมือในการดูแลห้องเรียนและการเรียน ตลอดจนการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม อื่นๆ ระดับที่ 2 : เรื่องที่สอนสอดคล้องกับกำหนดการสอนในประมวลการสอน ระดับที่ 1 : มีการทำแผนการสอนตามแบบฟอร์มที่มหาวิทยาลัยกำหนด และ ได้รับการดูแลจากผู้บังคับบัญชาก่อนสอน

องค์ประกอบที่ 3 การเรียนการสอน E-Classroom ระดับที่ 5 : มี Course Feedback จากนักศึกษาเพื่อทำการพัฒนาต่อไป ระดับที่ 4 : มีคลังข้อสอบ Assessment Home ระดับที่ 3 : มีการสร้างและประยุกต์ใช้ชุมชนการเรียนรู้ร่วมกันเช่น ห้องสนทนา (Chat Room), กระดานถามตอบ / อภิปราย (Forum), FAQ (Frequently Asked Question) ระดับที่ 2 : มี Content โดยในแต่ละรายวิชาโดย Content อาจจะเริ่ม จาก Static เช่น Power Point, E-Book หรือแบบ Interactive เช่น CAI (Computer Assistant Instruction) ระดับที่ 1 : มี Course Syllabus ของรายวิชา

ขั้นตอนกิจกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ การกำหนดองค์ประกอบทางวิชาการ (Components) จำนวน 18 องค์ประกอบ การกำหนดเกณฑ์วัดระดับความรู้ (Competency) 5 ระดับ ทั้ง 18 องค์ประกอบ ที่ประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ พิจารณาความเหมาะสมของเกณฑ์วัดระดับความรู้ นำบางองค์ประกอบเป็น Pilot Implementation อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเอง (Self – Assessment) ตามเกณฑ์องค์ประกอบ

ขั้นตอนกิจกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ 6. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ เพื่อเป็นตัวอย่าง โดยผู้ที่ได้คะแนนระดับสูงเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ 7. ขยายกิจกรรมการจัดการความรู้ในแต่ละสาขาวิชาดำเนินการ สร้างคลังความรู้ แก้ไขปรับปรุงเกณฑ์วัดระดับความรู้

Thank you