การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การจัดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM) ครอบคลุมองค์ประกอบทางวิชาการของทุกคณะ / สาขาวิชา บัณฑิตวิทยาลัยและวิทยาลัยนานาชาติ องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร-ประมวลการสอน องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนทั่วไป องค์ประกอบที่ 3 การเรียนการสอน E-Classroom องค์ประกอบที่ 4 การเรียนการสอน – TBL (TEAM BASED LEARNING) องค์ประกอบที่ 5 การเรียนการสอน – Seminar
องค์ประกอบที่ 6 การเรียนการสอน – Project องค์ประกอบที่ 7 วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ องค์ประกอบที่ 8 การวัดผล องค์ประกอบที่ 9 การประเมินผล องค์ประกอบที่ 10 การประเมินการสอนโดยนักศึกษา องค์ประกอบที่ 11 คุณธรรม จริยธรรม/ จรรยาบรรณวิชาชีพครู องค์ประกอบที่ 12 การดูแลและการพัฒนาวิชาการของนักศึกษา องค์ประกอบที่ 13 การพัฒนาวิชาการอาจารย์ตามมาตรฐานคุณภาพ ตัวบ่งชี้ของ สมศ. (ผลงานวิชาการ) องค์ประกอบที่ 14 การดำเนินการเรื่องหลักสูตรและการประกันคุณภาพ หลักสูตร ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา พ.ศ. 2548
องค์ประกอบที่ 15 การบริการวิชาการแก่ชุมชนตามอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ในฐานะ ที่สังกัดกลุ่มสถาบันที่เน้น การผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคมของ สมศ. องค์ประกอบที่ 16 การดำเนินการดูแลสนับสนุน (Monitoring) การปฏิบัติตาม กระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน (เพื่อการพัฒนาคน พัฒนางานและการได้มาซึ่งข้อมูลเชิงประจักษ์ประกอบการ ประเมินปลายปีควบคู่กับการประเมินผลตนเอง) องค์ประกอบที่ 17 การดำเนินการตามนโยบาย ประกาศ คำสั่ง ระเบียบ บันทึก มติที่ประชุม ที่เกี่ยวกับวิชาการ องค์ประกอบที่ 18 การนิเทศการสอน
ตัวอย่างเกณฑ์วัดระดับความรู้ องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร-ประมวลการสอน ระดับที่ 5 : มีการพัฒนาหลักสูตรตามระยะเวลาและสอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ระดับที่ 4 : มีการประกันคุณภาพของหลักสูตรใน 4 ประเด็นตามเกณฑ์ ของ สกอ. คือ 1) การบริหารหลักสูตร 2) ทรัพยากรการ จัดการเรียนการสอน 3) การสนับสนุนและการให้คำแนะนำ นักศึกษา 4) ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความ พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ระดับที่ 3 : ดำเนินการสอนตามหลักสูตร-ประมวลการสอนทุกรายวิชาและ ดำเนินการตามระบบงานวิชาการของมหาวิทยาลัย ระดับที่ 2 : ดำเนินการสอนตามหลักสูตร-ประมวลการสอนทุกรายวิชา ระดับที่ 1 : มีหลักสูตร-ประมวลการสอนตามเกณฑ์ของ สกอ.
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนทั่วไป ระดับที่ 5 : การดูแลช่วยเหลือและให้โอกาสนักศึกษาขอคำปรึกษาสิ่งที่ เรียนเป็นรายบุคคล การดูแลนักศึกษาที่เรียนอ่อนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้นักศึกษาติดตามบทเรียนได้ทัน รวมทั้งมีระบบข้อมูลของ นักศึกษาเรียนอ่อน ทั้งในทางวิชาการและสภาพชีวิต ระดับที่ 4 : การมอบงานแก่นักศึกษาเพื่อการเตรียมตัวสำหรับการเรียนครั้ง ต่อไป และมีการตรวจสอบการเตรียมตัวเมื่อเข้าห้องเรียน ระดับที่ 3 : การดูแลนักศึกษาเรื่องการแต่งกาย การมาสาย การขาดเรียนความ มีระเบียบวินัยความร่วมมือในการดูแลห้องเรียนและการเรียน ตลอดจนการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม อื่นๆ ระดับที่ 2 : เรื่องที่สอนสอดคล้องกับกำหนดการสอนในประมวลการสอน ระดับที่ 1 : มีการทำแผนการสอนตามแบบฟอร์มที่มหาวิทยาลัยกำหนด และ ได้รับการดูแลจากผู้บังคับบัญชาก่อนสอน
องค์ประกอบที่ 3 การเรียนการสอน E-Classroom ระดับที่ 5 : มี Course Feedback จากนักศึกษาเพื่อทำการพัฒนาต่อไป ระดับที่ 4 : มีคลังข้อสอบ Assessment Home ระดับที่ 3 : มีการสร้างและประยุกต์ใช้ชุมชนการเรียนรู้ร่วมกันเช่น ห้องสนทนา (Chat Room), กระดานถามตอบ / อภิปราย (Forum), FAQ (Frequently Asked Question) ระดับที่ 2 : มี Content โดยในแต่ละรายวิชาโดย Content อาจจะเริ่ม จาก Static เช่น Power Point, E-Book หรือแบบ Interactive เช่น CAI (Computer Assistant Instruction) ระดับที่ 1 : มี Course Syllabus ของรายวิชา
ขั้นตอนกิจกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ การกำหนดองค์ประกอบทางวิชาการ (Components) จำนวน 18 องค์ประกอบ การกำหนดเกณฑ์วัดระดับความรู้ (Competency) 5 ระดับ ทั้ง 18 องค์ประกอบ ที่ประชุมคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ พิจารณาความเหมาะสมของเกณฑ์วัดระดับความรู้ นำบางองค์ประกอบเป็น Pilot Implementation อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเอง (Self – Assessment) ตามเกณฑ์องค์ประกอบ
ขั้นตอนกิจกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ 6. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มคณะกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการ เพื่อเป็นตัวอย่าง โดยผู้ที่ได้คะแนนระดับสูงเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ 7. ขยายกิจกรรมการจัดการความรู้ในแต่ละสาขาวิชาดำเนินการ สร้างคลังความรู้ แก้ไขปรับปรุงเกณฑ์วัดระดับความรู้
Thank you