การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
Graduate of Chiangrai University
สศ การเมืองและการปกครองของไทย POL
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
อาจารย์อุทัยวรรณ ศรีวิชัย
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบัญชีขั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting 1)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สัมพันธุ์ จันทร์ดี
การให้ระดับคะแนน (ตัดเกรด) ด้วย T Score
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สำนักวิชาการและแผนงาน
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
การแจกแจงปกติ.
วิธีการใช้แบบประเมินผลสมรรถนะแบบ Hybrid Scale
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
บทที่ 1.1 แนะนำรายวิชา.
Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
Cooperative Education
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การให้ระดับผลการเรียน
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
และผลการทดสอบทางการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผังงาน (Flow chart).
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ผู้สอน. :. อ. สมพร สายปัญญา ห้องพัก :
การฝึกปฏิบัติงานนอก สถานที่ สำหรับ นักศึกษากิจกรรมบำบัดชั้น ปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์

ระบบของเกรด 2 เกรด 3 เกรด 5 เกรด 8 เกรด สัญลักษณ์ ระดับ ความหมาย   2 เกรด 3 เกรด 5 เกรด 8 เกรด สัญลักษณ์ ระดับ ความหมาย S (ผ่าน) G (ดี) A 4.0 ดีเยี่ยม (excellent) B B+ 3.5 ดีมาก (very good) 3.0 ดี (good) P (ผ่าน) C C+ 2.5 ค่อนข้างดี (fairly good) 2.0 พอใช้ (fair) D D+ 1.5 อ่อน (poor) 1.0 อ่อนมาก (very poor) U (ไม่ผ่าน) F (ตก) F 0.0 ตก (fail)

การตัดเกรดแบบอิงกลุ่ม คือ การให้เกรดโดยพิจารณาจากความสามารถของกลุ่ม หรือพิจารณาจากค่ากลางของกลุ่ม ถ้าข้อสอบง่ายหรือกลุ่มมีความสามารถสูงแล้ว ค่ากลางก็สูง ช่วงคะแนนของแต่ละเกรดก็สูงตามไปด้วย เช่น ถ้าค่ากลางของกลุ่มคือ 60% เกรด A อาจตัดที่ 83% ขึ้นไป แต่ถ้าข้อสอบยาก หรือกลุ่มมีความสามารถต่ำแล้ว ค่ากลางก็ต่ำ ช่วงคะแนนของแต่ละเกรดก็ต่ำตามไปด้วย เช่น ถ้าค่ากลางของกลุ่มคือ 50% เกรด A อาจตัดที่ 75% หรือต่ำกว่านี้ก็ได้ ดังนั้น การตัดเกรดแบบอิงกลุ่มจึงยืดหยุ่นตามระดับความสามารถของกลุ่ม

การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ คือ การให้เกรดโดยพิจารณาเทียบจากเกณฑ์ (criteria) เป็นหลัก ผู้สอบทำคะแนนถึงเกณฑ์ใดก็จะได้เกรดตามเกณฑ์นั้น เช่น กำหนดเกณฑ์ว่าเกรด A จะต้องได้คะแนน 85% ขึ้นไป ดังนั้น ผู้สอบจะต้องได้คะแนน 85% หรือสูงกว่านั้นจึงจะได้เกรด A ถ้าได้คะแนน 84% ลงมาก็จะได้เกรดต่ำกว่า A เป็นต้น ไม่ว่าข้อสอบจะยากหรือง่ายเพียงใดก็ตาม การให้เกรดจะเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้นี้เสมอ การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์จะไม่มีการยืดหยุ่นตามระดับความสามารถของกลุ่มแต่อย่างใด โดยปกติผู้สอนจะกำหนดวิธีการตัดเกรดมาล่วงหน้าตั้งแต่ก่อนการเรียนการสอนว่าวิชาที่สอนจะเลือกตัดเกรดแบบอิงกลุ่มหรืออิงเกณฑ์ และผู้สอนควรได้แจ้งให้ผู้เรียนทราบในชั่วโมงแรกที่สอน

ตาราง ค่าที่เกี่ยวข้องกับระดับความสามารถของกลุ่ม คะแนนจีพีเอ(GPA) ร้อยละของเกรด A B C D F ตามลำดับ ขีดจำกัดล่าง(Z)ของเกรด A 1. ดีเยี่ยม หรือดีเลิศ 2.80 24% 38% 29% 08% 01% 0.7 2. ดีมาก 2.60 18% 36% 32% 12% 02% 0.9 3. ดี 2.40 13% 33% 36% 15% 03% 1.1 4. ค่อนข้างดี 2.20 10% 29% 37% 20% 04% 1.3 5. พอใช้ (ปานกลาง) 2.00 07% 24% 38% 24% 07% 1.5 6. อ่อน 1.80 04% 20% 37% 29% 10% 1.7 7. อ่อนมาก 1.60 03% 15% 36% 32% 14% 1.9

ตัวอย่างการตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ เกณฑ์คงตัว: ขั้นต่ำของเกรด A เป็น 90 หรือ 80 และมีช่วงชั้น (หรือช่วงคะแนน) เท่ากับ 10 เกรด ขั้นต่ำของเกรด A คือ 90 ขั้นต่ำของเกรด A คือ 80 A 90 - 100 80 - 100 B 80 - 89 70 - 79 C 60 - 69 D 50 - 59 F 00 - 59 00 - 49

ตัวอย่างการตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ เกณฑ์ยืดหยุ่น ตัวอย่างการตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ เกณฑ์ยืดหยุ่น หมายถึง ไม่ได้กำหนดเกณฑ์มาล่วงหน้าว่าขั้นต่ำของเกรด A ควรเป็นเท่าใด แต่จะพิจารณาจากความสามารถของกลุ่ม หรือพิจารณาจากความยากง่ายของข้อสอบ โดยถ้าข้อสอบมีลักษณะง่ายแล้ว เกณฑ์ขั้นต่ำของเกรด A ก็สูง และถ้าข้อสอบมีลักษณะยากแล้ว เกณฑ์ขั้นต่ำของเกรด A ก็ต่ำ การตัดเกรดโดยวิธีนี้มักพิจารณาเกณฑ์ขั้นต่ำของเกรด D ประกอบ สิ่งที่ช่วยในการพิจารณาว่าเกรด A หรือ D ควรเป็นเท่าใดนั้นคือ ความถี่ หรือการเกาะกลุ่มของคะแนน และประสบการณ์ในการตัดเกรดของผู้ประเมิน การตัดเกรดโดยใช้เกณฑ์ยืดหยุ่นนี้ช่วงชั้นของคะแนนแต่ละชั้นอาจไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าพิสัยระหว่างเกรด A และ D เป็นเท่าใด