Comparison of efficacies of different probiotics for broiler chickens

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ผลของการเสริมวิตามิน บี 12 ต่อองค์ประกอบของไข่
ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
“การกำหนดวัตถุประสงค์”
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน 65%
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนน้ำยาฟอกฆ่าเชื้อจากสารเคมีและสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดหม้อข้าวหม้อแกงลิง.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
หลักการแปลผล สรุปผล II
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
ผู้วิจัย : ประชิด เกิดมาก. เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญยิ่งขึ้นต่อการศึกษาสู่ อนาคต จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการศึกษา เพื่อให้ สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ.
ชื่อนักวิจัย / ผู้ดำเนินงาน งบประมาณได้รับสนับสนุน บาท เบิกจ่ายแล้ว บาท ชื่อโครงการ สังกัดพื้นที่ คณะ สาขา รายงาความก้าวหน้าโครงการวิจัยและบริการ.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
สาขา การบริหารการศึกษา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อต่อยอด ยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
SELENIUM ซีลีเนียม.
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Comparison of efficacies of different probiotics for broiler chickens โดย Priyankarage el.al. นำเสนอโดย นายวรวุฒิ นำสุวิมลกุล

บทนำ Probiotics คือสารเสริมที่เติมใส่ในอาหารสัตว์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้สัตว์ที่กินอาหารที่เสริม Probiotics มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และมีการเจริญเติบโตที่ดียิ่งขึ้น Probiotics ที่ใช้ในอาหารสัตว์ อาจเป็นยาปฎิชีวนะ สารเคมี จุลินทรีย์ ซึ่งในตัวของ Probiotics จะไม่มีโภชนะใด ๆ การทำหน้าที่ของ Probiotic จะช่วยยับยั้งการทำงานของจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในระบบทางเดินอาหาร ที่อาจทำให้เกิดโรค และยับยั้งจุลินทรีย์ที่คอยแย่งอาหารในระบบทางเดินอาหาร

บทนำ (ต่อ) การใช้ Probiotics โดยใช้ในรูปยาปฎิชีวนะ และสารเคมี อาจทำให้มีผลต่อเนื่อง โดยสารเหล่านี้อาจตกค้างในเนื้อสัตว์ ซึ่งอาจเป็นสารก่อโรคมะเร็งต่อผู้บริโภคเนื้อสัตว์เหล่านั้น ต่อมาจึงมีการศึกษาวิจัยการนำจุลินทรีย์บางชนิดมาใช้ในรูป Probiotics

วัตถุประสงค์ การศึกษาครั้งต้องการศึกษาเปรียบเทียบผลของ Probiotics ชนิดต่างๆ ที่มีต่อการเลี้ยงไก่เนื้อ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ทราบถึงชนิดของ Probiotics ที่เหมาะที่นำมาใช้ในการเลี้ยงไก่เนื้อ ในแง่การเจริญเติบโต คุณภาพซาก และประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ 2.การใช้ Probiotics ในรูปของจุลินทรีย์เสริมในอาหาร จะทำให้ผู้บริโภคเนื้อสัตว์ มีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น

วิธีการทดลอง เป็นการเปรียบการใช้ Probiotic ในรูปจุลินทรีย์ 3 กลุ่ม เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ( Control ) ซึ่งมี 2กลุ่ม ดังนั้นการทดลองครั้งจึงมีสิ่งทดลอง ( Treatment ) 5 สิ่งทดลอง แผนการทดลองเป็น CRD การวิเคราะห์จะใช้วิเคราะห์ผลโดย ANOVA การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยใช้วิธีการของ Turky’pairwise comparison

วิธีการทดลอง (ต่อ ) สิ่งทดลองที่ 1 (NC ) คืออาหารที่ไม่มีการเสริมสารใด ๆ สิ่งทดลองที่ 2 ( PC ) คือ อาหารที่เสริมยาปฏิชีวนะพวก Zine bacitracine 0.25 กรัม/กิโลกรัม สิ่งทดลองที่ 3 ( T1) อาหารที่เสริมด้วย 0.01 % Protemix (Lactobacillus,Streptococcus, Bilidobacterium) สิ่งทดลองที่ 4 ( T2) อาหารที่เสริมด้วย 0.05 % G-Probiotic ( Saccharomyces cerevisaic,Lactobacillus acidophilus,Streptococcus faecium ) สิ่งทดลองที่ 5 (T3 ) อาหารที่เสริมด้วย0.05 % Hi-yield (Saccharomyces cerevisaic )

สรุปผลการทดลอง 1.ไก่เนื้อที่เลี้ยงด้วยอาหารที่เสริม Saccharomyces cerevisaic, Lactobacillus acidophilus,Streptococcus faecium ( T2, T3) จะมีน้ำหนักเพิ่มในช่วงอายุ7-21วัน (การเจริญเติบโต) ดีกว่ากลุ่มอาหารควบคุม(NC) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ตารางที่ 1)

สรุปผลการทดลอง 2.จำนวนจุลินทรีย์ในลำไส้เล็กของไก่เนื้อไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทุก ๆ สิ่งทดลอง (ตารางที่ 2 ) 3.คุณภาพซากของไก่เนื้อภายหลังการชำแหละ พบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างสัดส่วนของไขมันต่อเนื้อแดง 4.การใช้สารเสริมจุลินทรีย์ Saccharomyces cerevisaic ในอาหารไก่เนื้อจะมีผลต่อการเจริญเติบโต ( ผู้บรรยาย )

วิจารณ์ผลการทดลอง 1.อาหารที่มีการผสมสารเสริมประเภทยาปฏิชีวนะและจุลินทรีย์ จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของไก่เนื้ออายุระหว่าง 7-21 วัน 2.อาหารที่มีการผสมสารเสริมจุลินทรีย์พวกLactobacillus,Streptococcus, Bilidobacterium ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับกับกลุ่มควบคุม (NC) 3.จุลินทรีย์พวก Saccharomyces cerevisaic น่าจะมีบทบาทที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตของไก่เนื้อมากที่สุด

เอกสารอ้างอิง Priyankarage N.,Silva S.S.P.,Gunaratne S.P.,Palliyagura W.C.D.,Weerasinghe and P.S Fernando. (2003). Comparison of different probiotics for broiler chicken. Sri Lanka : 2003 Spring meeting of the WPSA UK-BRANCE POSTERS.