เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระดับ เขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต ๑
Advertisements

ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การประเมินผลการเรียน
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง
หน่วย การเรียนรู้.
ปีการศึกษา 2555 กับ ปีการศึกษา 2556
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
2.แบบผสมผสานเป็นเกลียว
สาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
ผู้ทรงคุณวุ ฒิ ผู้บังคับบัญ ชา ลูกเสือ - เนตรนารี Manage Head Heart Hand Head Heart Hand.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ขั้นตอนในการประเมิน ขีดความสามารถ/ขีดสมรรถนะ ของข้าราชการ ทร.
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
My school.
การประชุมผู้ปกครองนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เรื่อง “กำหนดการสอบและเอกสารการศึกษา”” โดย นางพรรณี จินตมาศ.
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
My school.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การพัฒนาบทเรียน e-Learning เรื่อง การสร้าง weblog สำหรับนักเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
แผนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2557
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การเขียนโครงการ.
การจัดทำคำอธิบายรายวิชา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ รายวิชา PE 653 เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ รศ. สุเมธ แก้วแพรก ภาควิชาพลานามัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

เปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กับ ๒๕๕๑ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑. ไม่ได้กำหนดวิสัยทัศน์ สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะที่พึงประสงค์แต่กำหนดไว้ในคู่มือแนวทางการจัดทำหลักสูตร ๑. กำหนดวิสัยทัศน์ของหลักสูตรสมรรถนะและลักษณะที่พึงประสงค์สำหรับให้สถานศึกษาเป็นกรอบในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

เปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กับ ๒๕๕๑ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ กำหนดหลักการของหลักสูตรจำนวน ๕ ข้อ กำหนดหลักการของหลักสูตรเพิ่มเป็น ๖ ข้อ ๓. กำหนดจุดหมายของหลักสูตรไว้ ๕ ข้อ ๓. ปรับจุดหมายให้ชัดเจนขึ้นโดยปรับจาก ๕ ข้อเป็น ๙ ข้อ

เปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กับ ๒๕๕๑ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔. โครงสร้างหลักสูตร กำหนดเป็น ๔ ช่วงชั้น กำหนดเวลาเรียนของ ๘ กลุ่มสาระเป็นเวลาราวกว้างๆในแต่ละช่วงชั้น เช่นปีละประมาณ ๘๐๐-๑๐๐๐ ชม. โครงสร้างหลักสูตร กำหนดเป็น ๓ ระดับ คือ - ระดับประถมศึกษา ป.๑ ถึง ป.๖ - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ม.๑ถึง ม.๓ - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ ถึง ม.๖ กำหนดเวลาเรียนขั้นต่ำของ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้เช่นภาษาไทย ป.๑ ๒๐๐ ชม.

เปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กับ ๒๕๕๑ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้/มาตรฐานช่วงชั้น กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระจำนวน ๗๖ มาตรฐาน ๕. ปรับมาตรฐานการเรียนรู้ และกำหนด ตัวชี้วัดชั้นปีและช่วงชั้นปรับมาตรฐานให้มีความชัดเจนลดการซ้ำซ้อนโดยปรับจาก ๗๖ มาตรฐาน เหลือ ๖๗ มาตรฐาน

เปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กับ ๒๕๕๑ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖. กำหนดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น ๒ ลักษณะ คือ - กิจกรรมแนะแนว - กิจกรรมนักเรียน ๖. ปรับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยเพิ่มกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ทุกระดับชั้น

เปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ กับ ๒๕๕๑ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ การวัดและประเมินผล และการจบหลักสูตร ๗.๑ กำหนดให้สถานศึกษากำหนดเกณฑ์การจบหลักสูตรและเกณฑ์การวัดและประเมินผล ๗. การตัดสินผลการเรียน ๗.๑ ระดับประถมศึกษาตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี

หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๑ ๗.๒ การตัดสินผลการเรียน - ระดับการศึกษาภาคบังคับตัดสินผลการเรียนเป็นรายปี - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค ๗.๓ ประเมินผลตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๗.๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาค ๗.๓ ประเมินผลการเรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัด