หัวข้อการบรรยาย 1. แนวทางการเตรียมตัวทำวิทยานิพนธ์ 1. แนวทางการเตรียมตัวทำวิทยานิพนธ์ 2. การค้นคว้าวรรณกรรมผ่านระบบ internet Literatures: งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และ ผลงานวิชาการอื่น ๆ
แหล่งข้อมูล ในระบบ internet เรื่องที่สนใจ ทบทวนวรรณกรรมทีเกี่ยวข้อง อื่น ๆ วิทยานิพนธ์/ สาระนิพนธ์ งานวิจัย บทความในวารสาร แหล่งข้อมูล ในระบบ internet
ความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรม กำหนดกรอบหรือ ตัวแบบการวิเคราะห์ เก็บข้อมูล ประมวลผล ศูนย์กลางหรือแกน ในการทำวิทยานิพนธ์ 50% 50 % Literature Review
1. objectives 8. recommendations for further studies 2. Theory or Framework for analysis Literature Review 3. methodology 7. limitations 4. data and sources 6. Policy recommendations 5. Results and conclusions
การเขียน Dissertation Proposal 1. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2. ทฤษฎีหรือกรอบที่จะใช้วิเคราะห์เพื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด 3. วิธีหรือเครื่องมือที่จะใช้วิเคราะห์ 4. ข้อมูลที่จะใช้และแหล่งข้อมูล 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การเขียนวิทยานิพนธ์ 1. เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และประเมินผล 1. เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และประเมินผล 2. อภิปรายผล: เปรียบเทียบกับผลงานที่ผ่านมา ข้อเหมือนและข้อแตกต่าง เหตุผลประกอบ 3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย: เหมือนหรือต่างจาก งานศึกษาของคนอื่นอย่างไร
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1. Business Administration 2. Economics 3. Political Science 4. Public Administration 5. Others
quantitative Analysis Methodology qualitative analysis quantitative Analysis non parametric statistics descriptive approach parametric statistics Socio- economic indicators
Statistical computer solfware programs Factor analysis Quantitative Analysis Non parametric statistics linear programming input-output analysis Computable General Equilibrium time-series analysis Econometrics Discriminant analysis Statistical computer solfware programs
ประเภทของ web sites 1. International Organizations 2. Journals 3. Domestic Web sites 4. Others
International Organizations’ Web sites 1. World Bank: www.worldbank.org 2. International Monetary Fund: www.imf.org 3. World Trade Organization: www.wto.org 4. Bank for International Settlement: www.bis.org 5. International Labour Organization: www.ilo.org
ข้อมูลและงานวิจัยใน web site ของ World Bank 1. Public sector management 6. Education 2. Governance 7. Social Development 3. Globalization 8. Labor and Employment 4. Health and Population 9. Poverty 5. Rural Development 10. Agriculture/ Industry
Globalization Working Papers
Governance Working Papers
World Development Reports
World Development Report 2003 Sustainable Development in a Dynamic World: Transforming Institutions, Growth and Quality of life
Managing Portfolio of Assets 1. Physical Assets 2. Human Assets 3. Environment Assets 4. Social Assets
World Development Indicators The World Development Indicators (WDI) is the World Bank's premier annual compilation of data about development. WDI 2001 includes approx. 800 indicators in 87 tables, organized in six sections: World View, People, Environment, Economy, States and Markets, and Global Links. The tables cover 148 economies and 14 country groups—with basic indicators for a further 59 economies.
Web Site ของ World Trade Organization www.wto.org
International Organizations’ Web sites 6. National Bureau of Economic Research : www.nber.org 7. Organization for Economic Co -Operation and Development : www.oecd.org
Journal- Link Web sites 1. Gale Expanded Academic 2. Wilson Omni File 3. RU Library: www.lib.ru.ac.th
ข้อมูลใน web sites ของ Gale and Wilson 1. วรรณกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ 2. Journals ที่เกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ 3. หัวข้อเรื่องที่สนใจ
วรรณกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ 1. Policy for Human Resource 2. Underground Economy 3. Environment 4. Welfare Program 5. Corruption
Journals ที่เกี่ยวข้องหรือที่น่าสนใจใน Gale 1. Journal of Public Administration Research and Policy 2. Journal of Public Policy 3. Political Research Quarterly 4. Politics and Society 5. Population and Environment
Journals ที่เกี่ยวข้องหรือที่น่าสนใจใน Wilson 1. Policy and Practice of Public Human Services 2. Policy Evaluation 3. Policy Study Journal 4. Political Research Quaterly 5. Journal of Public Policy and Marketing
Web Sites ของหน่วยราชการในประเทศ 1. คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: www.nesdb.go.th 2. กระทรวงการคลัง: www.mof.go.th 3. กระทรวงพาณิชย์: www.moc.go.th 4. สำนักงบประมาณ: www.bb.go.th
Web Sites ของหน่วยราชการในประเทศ 5. ธนาคารแห่งประเทศไทย: www.bot.or.th 6. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งประเทศไทย: www.tdri.or.th 7. สำนักงานสถิติแห่งชาติ: www.nso.go.th
ฐานข้อมูล Web Site ของ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: www ฐานข้อมูล Web Site ของ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: www.nesdb.go.th 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ และสังคม : GDP ของประเทศและจังหวัด ประชากร แรงงาน การศึกษา สาธารณสุข 3. ข้อมูลและงานศึกษาด้านความยากจน การกระจายรายได้ และ แผนพัฒนาภูมิภาค เมือง และ ชนบท 4. การพัฒนาทุนทางสังคม ( social capital) 5. การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน
Web Site ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ www.nso.go.th Census and survey reports on economic and social issues
ฐานข้อมูลงานวิจัยของประเทศไทยของสำนักงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติwww.nstda.or.th สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จัดทำโครงการนำร่อง ระบบ ฐานข้อมูล งานวิจัยของแต่ละสถาบัน เผยแพร่แล้วทาง อินเทอร์เน็ต บริการสืบค้น ฐานข้อมูลต่างระบบได้จากจุดเดียว โดย เริ่มบริการ ตั้งแต่ กันยายน 2544
ฐานวิทยานิพนธ์ไทย www.tiac.or.th ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี ( Technology Information Access Center)
Return on Information and Communication Technology Investment : A Case Study of Thai e-Government Supawit Wuthi-udomlert วัตถุประสงค์ของการศึกษา: เพื่อศึกษาผลตอบแทนที่จะได้รับจากการ ที่รัฐบาลนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงาน Tangible and intangible benefits of ICT corruption
Tangible and Intangible Costs of ICT imports Depowerment of human
Equation of Corruption ICT Corruption = Monopoly + Discretion - Transparency Culture and Social value Market structure Rules and regulations
เป้าหมายการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) Good Investment Climate Growth Job Creation
WWW.ru.ac.th/eco2 3108514-20 ext 4279
การพัฒนาทุนทางสังคม การประชุมระดมความคิด 5, 10 กุมภาพันธ์ 2546 Sombat สำนักพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต การประชุมระดมความคิด การพัฒนาทุนทางสังคม 5, 10 กุมภาพันธ์ 2546 ห้องประชุมเดชสนิทวงศ์ สศช. โปรดเสนอข้อคิดเห็นเพิ่มเติมที่ : Sombat-s@nesdb.go.th : Socap@nesdb.go.th
การพัฒนาทุนทางสังคม การพัฒนาทุนทางสังคม กรอบแนวคิด+ตัวอย่าง การปรับเปลี่ยนสังคมไทย เส้นทางสำคัญๆ การประเมินทุนทางสังคมไทย สิ่งที่ต้องเผชิญในอนาคต ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย&ทุนทางสังคม ความหมายและขอบเขต ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการศึกษาวิจัย การวิเคราะห์ แผนพัฒนา การประชุมสัมมนา กก.สศช. ผู้บริหาร สศช. กลไกการดำเนินงาน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคนไทย - สังคมไทย พ.ศ.2533 สิ่งที่ต้องเผชิญในอนาคต รัฐธรรมนูญ ประชากร ครอบครัว S&T R&D เศรษฐกิจใหม่ การ กระจายอำนาจ การ บริหาร จัดการ S&T ICT การเมือง การค้า การเงิน ธนาคาร การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ต่างประเทศ ในประเทศ สังคมเกษตร อุตสาหกรรม ปัจจุบัน
การปรับเปลี่ยนสังคมไทย ปัจจุบัน สังคมฐาน ความรู้ การพัฒนายั่งยืน
จุดเน้นการพัฒนาทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ การสร้างทักษะในการคิดวิเคราะห์ มีทักษะในการทำงานและดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ ทุนทางสถาบัน สร้างความเข้าใจให้ทุกฝ่ายเห็นถึงความสำคัญและประโยชน์ของสถาบันต่างๆของสังคมและการรวมกลุ่ม ทุนทางปัญญาและวัฒนธรรม เลือกสรรภูมิปัญญา วัฒนธรรมที่ดี และ ต่อยอด เพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่ม เพิ่มคุณค่าและเพิ่มคุณภาพชีวิต
ตัวอย่างการพัฒนาทุนทางสังคม รักษา-ฟื้นฟู ขยายผล เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งในระบบและกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาความรู้ -ทักษะช่างฝีมือ งานศิลปะ บริการ และการท่องเที่ยว ทุนมนุษย์ ทุนทางสถาบัน ฟื้นฟูความผูกพันในครอบครัวและ ชุมชน เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันทางสังคมต่างๆ ทุนทางปัญญา และวัฒนธรรม สร้างความเข้าใจในแก่นแท้ของศาสนา วัฒนธรรม และทุนทางสังคม พัฒนาเทคนิคการเผยแพร่ เปิดโอกาสให้เผยแพร่ ฟื้นฟูวัฒนธรรมที่ดีงาม ความเมตตา-เอื้ออาทร ความเป็นมิตร ยิ้มแย้มแจ่มใส
เสริมสร้างทุนทางสังคมใหม่ๆ ทำงานเป็นทีม ภูมิใจในงานที่ทำ ผูกพันองค์กร มีจิตสาธารณะ มีแรงจูงใจ/จิตวิญญาณในการประกอบการเอง สร้างนิสัยให้รักการ “อ่าน-คิด-เขียน-แสดงความคิดเห็น” ใฝ่รู้ตลอดชีวิต ทุนมนุษย์ ทุนทางสถาบัน สนับสนุนการรวมตัวเป็นชุมชน เสริมสร้างความเข้มแข็ง และขยายเครือข่าย กระตุ้นให้คนทุกกลุ่มตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของสถาบันที่มีอยู่และเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้ ทุนทางปัญญา และวัฒนธรรม พัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาและวัฒนธรรมระดับชาติและท้องถิ่น (เน้นเรื่องสำคัญๆ เชื่อม D&S) และตัวชี้วัด สร้างระบบยกย่อง ปกป้องคนดี มีคุณธรรม ผสมผสานเทคโนโลยี/ องค์ความรู้ใหม่เข้ากับ ภูมิปัญญาที่มีอยู่เพื่อเพิ่มคุณค่า-เพิ่ม มูลค่าให้สินค้าและบริการ