การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ในประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

เสนองานสัมมนา “ฟาร์มหมู รีเทิร์น ขาดทุน 2 ปี ฟื้นอย่างไร? ใน 6 เดือน”
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม พัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ด้านอาหาร เวชภัณฑ์ และสิ่งแวดล้อม.
ลำดับที่ แผนงาน/โครงการ พื้นที่เป้าหมาย (อำเภอ) เป้าหมาย (หน่วยนับ)
โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี 2553
การถ่ายโอนภารกิจ ให้ภาคเอกชนดำเนินการแทน
โครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2553 (ประชาคมระยะที่ 1) จังหวัดนราธิวาส.
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
สัมนาเรื่อง “ เราได้อะไรจากสำมะโนอุตสาหกรรม พ. ศ. 2550” หัวข้อบรรยาย ประโยชน์ของข้อมูลจากสำมะ โนอุตสาหกรรม สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
การสำรวจข้อมูลรายได้เกษตรกรที่ยากจน ในชุมชนยากจนปี 2549
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
************************************************
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ปศุสัตว์ Update 15/07/2008. ปศุสัตว์ CP ล งทุน 8,082 ล้านบาท ซั นแวลเล่ย์ ลงทุน 1,751 ล้านบาท  วัว - เนื้อ  หมู  ไก่  เป็ดเนื้อ ภาคอีสาน กิจการเลี้ยงไก่เนื้อ.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ประจำปีงบประมาณ 2555 ( เมษายน - กันยายน 2555) ผลการ ปฏิบัติงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ในประเทศไทย

ประเทศไทยในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ประเทศไทย ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ประเทศไทยในน้ำมีปลา ในนามีข้าว

พื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำจืด และจำนวนฟาร์มในประเทศไทย ภาคเหนือ พื้นที่การเลี้ยง 160,373 ไร่ 144,671 ฟาร์ม ภาคอีสาน พื้นที่การเลี้ยง 340,665 ไร่ 286,938 ฟาร์ม ภาคกลาง พื้นที่การเลี้ยง 465,143 ไร่ 74,130 ฟาร์ม ภาคใต้ พื้นที่การเลี้ยง 66,380 ไร่ 44,892 ฟาร์ม รวมพื้นที่ทั้งหมด 1,032,561 ไร่ 550,631 ฟาร์ม (ที่มา:สถิติกรมประมง 2552)

พื้นที่การเลี้ยงสัตว์น้ำจืดในรูปแบบต่างๆ พื้นที่ บ่อ จำนวน 945,735 ไร่ พื้นที่ นา จำนวน 73,601 ไร่ พื้นที่ ร่องสวน จำนวน 12,677 ไร่ พื้นที่ กระชัง จำนวน 549 ไร่ รวมพื้นที่ทั้งหมด 1,032,561 ไร่ (ที่มา:สถิติกรมประมง 2552)

ผลผลิตการเลี้ยงสัตว์น้ำจืด - ปลานิล 221,042 ตัน/ปี - ปลาดุก 130,064 ตัน/ปี - ปลาตะเพียน 47,231 ตัน/ปี - ปลาสลิด 34,220 ตัน/ปี - ปลาสวาย 30,200 ตัน/ปี - กุ้งก้ามกราม 26,785 ตัน/ปี - สัตว์น้ำอื่นๆ 32,338 ตัน/ปี รวม 521,880 ตัน/ปี

ตลาดส่งออกปลาน้ำจืด ช่วงปี2545-2552 ไทยส่งออกเฉลี่ยปีละ 33,454 ตัน/ปี มูลค่า 1,421 ล้านบาท ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมงระหว่างประเทศ กรมประมง

ปลาน้ำจืดเศรษฐกิจส่งออกที่สำคัญของไทย ปลานิล 11,326 ตัน/ปี ปลาดุก 3,125 ตัน/ปี ปลาตะเพียน 793 ตัน/ปี ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมงระหว่างประเทศ กรมประมง

สัดส่วนการใช้ผลผลิตปลานิลในประเทศ และส่งออก ปี ผลผลิตปลานิลทั้ง ประเทศ (ตัน) ปริมาณการส่งออก ปลานิล (ตัน) สัดส่วนใช้ใน ประเทศ สัดส่วนส่งออก 2545 83,780.00 3,245.50 96.13 3.87 2546 98,336.00 4,708.96 95.21 4.79 2547 160,241.00 8,476.74 94.71 5.29 2548 203,737.00 11,014.28 94.59 5.41 2549 205,326.00 14,948.98 92.72 7.28 2550 213,812.00 12,733.96 94.04 5.96 2551 217,246.00 19,767.69 90.90 9.10 2552 221,043.00 12,657.06 94.27 5.73 2553 179,240.00 12,956.43 92.77 7.23 2554 139,263.00 11,910.63 91.45 8.55 2555 179,849.00 9,515.85

สถานการณ์ปลานิลและผลิตภัณฑ์ของประเทศไทย การตลาด การผลิต การแปรรูป 2 1 2 พื้นที่เลี้ยงที่มีผลผลิต 483,789 ไร่ :ปี2552 (284,791 ฟาร์ม :ปี2552) ผลผลิต 221,043 ตัน :ปี2552 -ปลาสด 0.12% -แช่แข็ง 81% -แล่เนื้อ 10% -ตากแห้ง 0.02% บริโภคภายในประเทศ 94.27% (208,386 ตัน) :ปี 2552 ส่งออกต่างประเทศ 5.73% (12,657 ตัน) :ปี 2552 -สำหรับสถานการณ์ปลานิลและผลิตภัณฑ์ของประเทศไทยในปี 2548นั้น มีอัตราการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น มีพื้นที่เลี้ยง 394,742 ไร่ ผลผลิต 203,737 ตัน -ผลผลิตส่วนใหญ่นำไปแปรรูป ได้แก่ แช่แข็ง แล่เนื้อ ทำเค็ม ตากแห้ง -โดยส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงเพื่อการบริโภคภายในประเทศ คิดเป็น ร้อยละ 70 โดยส่วนใหญ่เป็นการบริโภคสด สำหรับการส่งออกต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 30 โดยส่วนใหญ่ส่งออกในรูปการแช่แข็ง และแล่เนื้อ -ประเทศไทยมีความพยายามปรับปรุงสายพันธุ์และพัฒนาเทคนิคการเลี้ยงเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีลักษณะและคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาดต่างประเทศ อาทิเช่น -ปลานิลแปลงเพศ -ปลานิลทริพลอยด์ -การเลี้ยงปลานิลในน้ำที่มีความเค็มต่ำ เพื่อแก้ไขปัญหากลิ่นสาบโคลน ที่มา: ส่วนเศรษฐกิจ กรมประมง 1 ที่มา: กลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมงระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรมประมง 2

ราคาปากบ่อเฉลี่ย ราคาและผลผลิตแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน ราคาจำหน่ายที่ฟาร์มเลี้ยงในบ่อดิน ราคา 40-54 บาท/กิโลกรัม ราคาจำหน่ายที่ฟาร์มเลี้ยงในกระชัง ราคา 60-63 บาท/กิโลกรัม ราคาปลานิลแล่เฉพาะเนื้อ 75-80 บาท/กิโลกรัม ราคาจำหน่ายผลผลิตปลานิลในแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน โดยมีราคาจำหน่ายที่ฟาร์มเลี้ยงในบ่อดินเฉลี่ย ราคา 25-38 บาท/กิโลกรัม ราคาจำหน่ายที่ฟาร์มเลี้ยงในกระชังเฉลี่ย ราคา 40-45 บาท/กิโลกรัม และราคาปลานิลแล่เฉพาะเนื้อเฉลี่ย เท่ากับ 75-80 บาท/กิโลกรัม

ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตในบ่อดินในประเทศไทย ประมาณ 40 บาท/กิโลกรัม ปลาขนาด 0.7-1 กก. ต้นทุนการผลิตในกระชังในประเทศไทย ประมาณ 52 บาท/กิโลกรัม ปลาขนาด 0.7-1 ที่มา : เกษตรกรโครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก ปี 2555 ทั้งนี้ต้นทุนการผลิตปลานิลในบ่อดินของไทย ประมาณ 17-26 บาท/กิโลกรัม ต้นทุนการผลิตปลานิลในกระชังประมาณ 26-37 บาท/กิโลกรัม ซึ่งสูงกว่าต้นทุนของประเทศอื่น ๆ ในเขตร้อน

ผลผลิตต่อไร่(กก./ไร่) ข้อมูลการเลี้ยงปลานิลปี 2555 ภาค จำนวนฟาร์ม เนื้อที่เลี้ยง(ไร่) ผลผลิต(ตัน) มูลค่า(ล้านบาท) ผลผลิตต่อไร่(กก./ไร่) ภาคเหนือ (17) 63,570 65,788 46,233.86 2,134 700 ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ(20) 126,260 128,421 44,466.25 2,199 350 ภาคกลาง(9) 3,777 10,535 10,313.90 452.36 980 ภาคตะวันออก(9) 8,040 43,736 35,558.79 1,625.34 810 ภาคตะวันตก(8) 10,986 56,832 36.983.91 1,383.56 650 ภาคใต้(14) 8,687 13,476 6,292.29 297.85 470 รวม 221,320 318,787 179,849.00 8,093.25

ผลผลิตต่อไร่(กก./ไร่) ข้อมูลการเลี้ยงปลานิลปี 2555 ภาค จำนวนฟาร์ม เนื้อที่เลี้ยง(ไร่) ผลผลิต(ตัน) มูลค่า(ล้านบาท) ผลผลิตต่อไร่(กก./ไร่) ภาคเหนือ (17) 63,570 65,788 46,233.86 2,134 700 ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ(20) 126,260 128,421 44,466.25 2,199 350 ภาคกลาง(9) 3,777 10,535 10,313.90 452.36 980 ภาคตะวันออก(9) 8,040 43,736 35,558.79 1,625.34 810 ภาคตะวันตก(8) 10,986 56,832 36.983.91 1,383.56 650 ภาคใต้(14) 8,687 13,476 6,292.29 297.85 470 รวม 221,320 318,787 179,849.00 8,093.25

การดำเนินการ กำหนดเขตเศรษฐกิจการผลิตปลานิลเชิงพาณิชย์ จังหวัดชลบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเชียงราย จัดประชุมชี้แจงและกำหนดแนวทางการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจการผลิตปลานิลเชิงพาณิชย์ ตามแนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การดำเนินการ 2. พัฒนาฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ของการผลิตปลานิล 2. พัฒนาฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ของการผลิตปลานิล รวบรวมข้อมูลเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จัดทำฐานข้อมูล (ขนาดฟาร์ม, พิกัด, ที่ตั้ง, บ่อเลี้ยง, กำลังการผลิตฯลฯ) จัดทำฐานข้อมูลและทำข้อมูลเชิงพื้นที่

การดำเนินการ ยกระดับมาตรฐานการผลิตให้ได้มาตรฐาน (ตามความต้องการของตลาดและเจ้าของฟาร์ม) ให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการ ส่งเสริมฟาร์มให้เข้ามาตรฐานตามที่ ต้องการ (ตลาด/ เจ้าของฟาร์ม) แต่ อย่างน้อยให้ได้ระดับ Safety level (จด ทะเบียนฟาร์ม + ไม่มีสารตกค้าง)

การดำเนินการ 4.4 พิจารณาการบริหารจัดการการผลิตให้สอดคล้อง กับความต้องการของตลาด ศึกษาความต้องการของตลาดและจำนวน ปริมาณแผนการผลิต (ขนาด, ปริมาณ, ระยะเวลา ฯลฯ) ศึกษาบริหารจัดการด้านการผลิตให้มีต้นทุนต่ำลง เพื่อการแข่งขัน (ลูกพันธุ์, คุณภาพ, อาหาร, อื่นๆ)

การดำเนินการ 4.4 พิจารณาการบริหารจัดการการผลิตให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (ต่อ) ศึกษาและกำหนดรูปแบบและแผนการ กระจายสินค้า

การดำเนินการ 4.5 พัฒนาเครื่องมือการจัดการ supply chain ในอุตสาหกรรมการผลิตปลานิลเชิงพาณิชย์

จบการนำเสนอ