ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา มูลนิธิเด็ก (Information Technology Institute for Education - ITIE) เดือนมกราคม - เดือนธันวาคม ๒๕๔๘.
กิจกรรมวิชาการ และกิจกรรมเครือข่ายการ์ตูนไทย
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
กลุ่มสานฝัน กลุ่มที่ ๑ ท่านจะมีวิธีการอย่างไรให้โรงเรียน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ก ารประชุมเพื่อพิจารณา แนวทางในการพัฒนา ร้านเกมคาเฟ่ ร้านอินเทอร์เน็ต คาเฟ่ ป ลอดภัยและ ส ร้างสรรค์ วันที่ ๖ ธันวาคม พ. ศ. ๒๕๕๐ ณ ห้องประชุม ๓๐๒ ตึกบัญชาการ.
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
บันทึกการประชุม ห้อง สื่อใหม่กับการรู้เท่าทันสื่อ การสัมมนาวิชาการเท่าทันสื่อ ครั้งที่ ๑ ไทย-ทัน-สื่อ มหกรรมการเรียนรู้เท่าทันสื่อแห่งชาติ ครั้งที่ ๑.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ปัญหาสำคัญ / ทางออกสำหรับ เด็ก ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓. วัตถุประสงค์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กของ จังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อเสนอโครงการพัฒนาเด็กตาม ความต้องการของจังหวัด.
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
การนำนโยบายและแนวปฏิบัติ การรับนักเรียนสู่การปฏิบัติ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
กระบวนการการทำงานชุมชน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจสื่อทางเพศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ข่าวเทคโนโลยี สารสนเทศ เรื่อง ก. ไอซีทีบุกเกาหลีดูการใช้ไอทีลด ความเหลือมล้ำการศึกษา ความเหลือมล้ำการศึกษา จัดทำโดย น. ส. ณภัทร สิงหนาท ม.4/12 เลขที่ 24.
การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา กระทรวงศึกษาธิการ. ขอบข่ายงานวิจัย ปัจจุบัน ประเภทของการวิจัย การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ (LRRD) การวิจัยพื้นฐาน การวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี
การรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
INSPIRING THAILAND โครงการความร่วมมือเพื่อการ เปลี่ยนประเทศไทย Inspiring Thailand ประชาช น เอกชน รัฐ.
กฎหมายและจรรยาบรรณด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ภาค๑)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
โครงการด้านสื่อปลอดภัย สร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ สำหรับเด็ก เยาวชน ครอบครัวใน สังคมไทย การประชุมกรรมการวิชาการ สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑ อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม.มหิดล

ประเด็นในการนำเสนอ สถานการณ์เด่นด้านไอซีทีที่มีผลต่อเด็ก แนวคิดใหม่ในการทำงาน เครื่องมือในการทำงาน การบริหารจัดการ

(๑) สถานการณ์เด่นด้านไอซีทีที่มีผลต่อเด็ก การเติบโตทางเทคโนโลยีและก้าวเข้าสู่ยุค 3G โลกแห่งแอพพลิเคชั่น ยุคทองของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (เครือข่ายเด็กหัวใสกับการสร้างเครือข่ายรูปแบบใหม่ การใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ ) วัฒนธรรมในการใช้งานเริ่มเปลี่ยนไปในทางสร้างสรรค์มากขึ้นแต่ขาดระบบการสนับสนุนที่ยั่งยืน และ การต่อยอดขยายผล รูปแบบการสนับสนุนเริ่มมีความชัดเจน เงิน (กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา) ความรู้ โอกาส พื้นที่ แต่ยังไม่มีการจัดระบบการจัดการ องค์กรหลัก กสทช องค์กรเสริม เนคเทค (การจัดการรูปแบบใหม่ ใช้ต้นทุนเดิม การจัดการใหม่ วางแผนที่ผลลัพธ์ร่วมกัน) ๖ สถานการณ์เด่นด้านไอซีที แนวคิดใหม่ เครื่องมือใหม่ การจัดการรูปแบบใหม่

สถานการณ์ด้านการเติบโตของเครือข่ายสังคมออนไลน์ ใน Facebook.com

(๒) แนวคิดใหม่บนฐานแนวคิดเดิม วัฒนธรรมสร้างสรรค์ในการใช้สื่อใหม่ = ทักษะรู้เท่าทัน + การใช้เพื่อการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ทิศทางของการใช้ไอซีทีเพื่อการพัฒนา ๕ ด้าน การศึกษา สังคม การสื่อสาร ซอฟท์แวร์ เศรษฐกิจ ปัจจัยหนุน ๓ ส่วน ตัวเด็ก บุคคลรอบข้าง (พ่อแม่ ครู โรงเรียน ชุมชน พี่เลี้ยง) โอกาส พื้นที่ รวมถึงโจทย์ในการทำงาน ต้องการการขยายเครือข่าย ต่อยอดคุณค่าของผลงาน ๖ สถานการณ์เด่นด้านไอซีที แนวคิดใหม่ เครื่องมือใหม่ การจัดการรูปแบบใหม่

One Tablet per Child ลดความเสี่ยง วัฒนธรรมสร้างสรรค์ ไอซีทีเครื่องมือพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ลดความเสี่ยง

(๓) เครื่องมือใหม่ต่อยอดจากเครื่องมือเดิม ๖ สถานการณ์เด่นด้านไอซีที หลักสูตรวัฒนธรรมสร้างสรรค์ในการใช้สื่อใหม่ หลักสูตรรู้เท่าทันสื่อ หลักสูตรครูในการสนับสนุนเด็ก หลักสูตรชุมชนในการสนับสนุนเด็ก แนวคิดใหม่ เครื่องมือใหม่ การจัดการรูปแบบใหม่

(๔) การบริหารจัดการภายใต้แนวคิด การร่วมทุนทางสังคม การต่อยอดผลลัพธ์ พื้นที่นำเสนอ โจทย์ท้าทาย ผู้สนับสนุน Show Share Shop ออนไลน์ ออฟไลน์ ยิ่งท้าทายยิ่งพัฒนา โครงการประกวด TQ NSC ครูหนุน ครูพลิก ครูบรรยากาศ พ่อแม่ ชุมชน พี่เลี้ยง การสนับสนุนต้นแบบ พัฒนาเครือข่ายครู ต้นแบบ กระแสสังคม ต่อยอดทางสังคม และ เศรษฐกิจ สื่อสารความสำเร็จ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

ข้อเสนอในการทำงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง สร้างเนื้อหาและจัดการเนื้อหา เครื่องมือครู พ่อแม่ ต้นแบบและวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ขยายผลต่อยอดเชิงคุณค่า ปฎิรูปกฎหมาย นโยบาย

ตัวอย่างกรณีศึกษาที่ ๑ เด็กสร้างสื่อชุมชน ตัวอย่างกรณีศึกษาที่ ๑ เด็กสร้างสื่อชุมชน นักข่าวจิ๋ว สวนหม่อน นักข่าวเด็กในชุมชน ได้รับการอบรมให้ความรู้โดย มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย และ นักข่าวพลเมือง ทีวีไทย ต้นทุนในพื้นที่ และ ต้นทุนนอกพื้นที่

ตัวอย่างกรณีศึกษาที่ ๒ เด็กหัวใสฉลาดใช้ไอซีที Confuse Way สำรวจตัวช่วย (๑) ตัวเด็กเอง (๒) พ่อแม่ (๓) ครู (โรงเรียน) (๔) พื้นที่ออนไลน์ (๕) พื้นที่ออฟไลน์ (๖) พี่เลี้ยง (๗) เครือข่าย (๘) ชุมชน ความรู้ โอกาส เทคโนโลยี เงิน

ตัวอย่างกรณีศึกษาที่ ๓ เด็กกับเกมคอมพิวเตอร์ นักกีฬาเกม เด็กสร้างเกม คอลัมนิสก์เกม คนผลิตสื่อ

ตัวอย่างกรณีศึกษาที่ ๕ เด็กหัวใสฉลาดใช้ไอซีที