บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การกระทำทางสังคม (Social action)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางและบทบาทต่อการเมืองโลก
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
การงบประมาณ (Budget).
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
Good Corporate Governance
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
การสื่อสารเป็นปัจจัยที่ สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการ พัฒนาสร้างสรรค์ความ เจริญก้าวหน้า รวมทั้งการ รักษาความมั่นคงและความ ปลอกภัยของประเทศด้วย ยิ่ง ในปัจจุบัน.
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
การป้องกันประเทศ 1 พม่า
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
บทที่1 การบริหารการผลิต
เงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลา
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
การแทรกแซง การที่รัฐใดรัฐหนึ่งเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยบังคับรัฐอื่นให้กระทำในสิ่งที่ ตนต้องการ การแทรกแซงย่อม เป็นการคุกคามอำนาจอธิปไตย ของรัฐอื่น ซึ่งเป็นการละเมิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย ดุลแห่งอำนาจ วิธีที่รัฐสร้างนโยบาย วิธีใช้นโยบายของรัฐ เครื่องมือที่รัฐใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบบนานาชาติ หรือระบบโลก ปัจจัยสำคัญในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จัดทำโดย จ.ส.ต.หญิงชญา ยุวารี ลำดับที่ 75

นโยบายระหว่างประเทศ นโยบายระหว่างประเทศ หมายถึง นโยบายของรัฐใดรัฐหนึ่งที่ถูกกำหนดโดยรัฐบาลของประเทศนั้นๆ เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินกิจกรรมระหว่างประเทศของตนเอง ข้อสำคัญคือ การดำเนินนโยบายจะต้องอยู่ในกรอบของกฎหมายระหว่างประเทศและปฏิบัติตามพันธสัญญาที่มีต่อกัน

2.ระดับความเจริญทางเศรษฐกิจ 1.ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 5. กำลังทหาร 3. ทรัพยากรธรรมชาติ 2.ระดับความเจริญทางเศรษฐกิจ 4.จำนวนพลเมืองและความสำนึกในชาตินิยม

ที่ตั้งภูมิศาสตร์ ประเทศที่เป็นเกาะ จะมุ่งการเสริมสร้างกลังทางเรือและอากาศ หรือประเทศที่มีลักษณะเป็นเกาะจะมีความปลอดภัยจากการรุกรานของต่างชาติมากกว่าประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกับรัฐอื่น

ระดับความเจริญทางเศรษฐกิจ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ประเทศกสิกรรม จะมีวัตถุดิบและสินค้าการเกษตร จึงทำให้การดำเนินนโยบายต่างประเทศจะผูกพันกับประเทศอุตสาหกรรม 2.ประเทศอุตสาหกรรม จะขาดแคลนวัตถุดิบ จะดำเนินนโยบายการผูกมิตไว้กับประเทศกสิกรรม และอาศัยเป็นแหล่งระบายสินค้าของตน

ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากหรือน้อยมีนโยบายต่างประเทศต่างกัน จะวางนโยบายการควบคุมการสั่งเข้าหรือส่งออกช่วงสงคราม ทำการแข่งขันเพื่อรักษาทรัพยากร ประเทศยากจนหันไปขอความช่วยเหลือจากประเทศอื่นหรือไม่ก็ดำเนินนโยบายเป็นกลาง

จำนวนพลเมือง ประเทศที่มีทรัพยากรน้อยแต่มีพลเมืองมาก จะดิ้นรนหาดินแดนเพิ่ม เพื่อระบายพลเมือง ส่วนประเทศที่มีประชากรน้อยและด้อยพัฒนามักจะชวนให้ต่างประเทศมาลงทุนในประเทศของตน

กำลังทหาร เป็นปัจจัยสำคัญในการรักษาความมั่นคงและเกียรติภูมิ บางประเทศพยายามสร้างแสนยากนุภาพและดำเนินการรวยกลุ่มทหารเพื่อป้องกันตนเองและความั่นคง นโยบายต่างประเทศที่เป็นแนวปฏิบัติองรัฐในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรัฐอื่น จะมีการเปลี่ยนแปลงได้เสมอ

การดำเนินนโยบาย การกระทำที่รัฐได้กระทำลงไปตามที่ได้ตัดสินใจโดยผู้มีอำนาจ โดยมุ่งไปสู่เป้าหมายที่รัฐวางไว้ และมีเครื่องมือทางเศรษฐกิจ การทหาร สังคม การเมือง การทูต กฎหมาย การโฆษณาชวนเชื่อและอื่นๆ

การกำหนดนโยบายต่างประเทศของแต่ละรัฐต้องให้สอดคล้องกับความต้องการภายในประเทศที่เป็นประชาธิปไตย เมื่อพรรคการเมืองใดสามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ ฝ่ายรัฐบาลต้องดำเนินการแถลงนโยบายของตน นโยบายภายในและต่างประเทศ ผ่านขบวนการรัฐสภา

ระดับทั่วไปของหลักผลประโยชน์ รักษาความดำรงอยู่ของรัฐ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม คุ้มครองพลเมืองของคนที่อยู่ในต่างประเทศและรักษาสิทธิความคุ้มกันทางการทูตของชาติตน รักษาดุลอำนาจ

ดุลอำนาจ (Balance of Power) ดุลอำนาจเป็นสิ่งจำเป็นในอันที่จะรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การมีอำนาจคือการสร้างความปลอดภัยของชาติหนึ่ง หรือการสร้างอำนาจของชาติหนึ่ง ย่อมไม่เกิดความปลอดภัยอีกชาติหนึ่ง

วิธีการสร้างดุลอำนาจ

สะสมกำลังอาวุธ เป็นการเสริมอำนาจให้กับประเทศพร้อมด้วยปริมาณและคุณภาพ