กระบวนการยุติธรรมสำหรับผู้เยาว์ ต้องยึดหลัก สิทธิมนุษยชน ความปลอดภัย ส่งเสริมสภาพร่างกายและจิตใจ
การควบคุมตัวผู้เยาว์ เป็นวิธีการสุดท้าย เตรียมคืน สู่สังคม สั้นที่สุด โดยศาล มีโอกาสปล่อยตัวก่อนกำหนด มีโอกาสสัมผัสชุมชนภายนอก
การปฏิบัติระหว่างควบคุม มีกิจกรรมส่งเสริม ทักษะ ความรับผิดชอบ สุขภาพ ทัศนคติ 2. มีการตรวจสอบจากองค์กรภายนอกที่อิสระ
มาตรฐานการควบคุมต่อผู้เยาว์ เก็บเป็นความลับ ผู้เกี่ยวข้องเท่านั้นอ่านได้ ผู้เยาว์ต้องอ่านแฟ้มตัวเองได้ เมื่อผู้เยาว์พ้นการควบคุมต้องทำลายแฟ้ม
มาตรฐานการควบคุมตัวฯ จัดกลุ่มให้เหมาะสม สัมภาษณ์/ทำรายงานด้านสังคม จิตใจ ถ้าบำบัดพิเศษ ต้องมีแผนการบำบัด กรอบเวลา วิธีบำบัด แยกอายุ เพศ ความผิด ต้องเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้เยาว์
สภาพแวดล้อม และที่พัก ควรเป็นสถานที่เปิด ควบคุมน้อย สิ่งอำนวยความสะดวกตามความจำเป็น และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เน้นการฟื้นฟู/ปลอดภัย สุขภัณฑ์/ของใช้ส่วนตัว
การศึกษา การฝึกอาชีพ การทำงาน การศึกษา การฝึกอาชีพ การทำงาน ถ้าอยู่ในวัยเรียน ต้องได้เรียน ให้การศึกษาเท่าเทียม ไม่แยกต่างด้าว ถ้าอายุเกินการศึกษาภาคบังคับ ต้องได้รับอนุญาต ควรมี ห้องสมุดในสถานควบคุม การฝึกอบรมอาชีพเหมาะสม มาตรการคุ้มครองแรงงานนำมาใช้ โอกาสทำงานมีรายได้/ควรกันเป็นเงินออมไว้ให้
กิจกรรมสันทนาการและศาสนา ออกกำลังกาย ทักษะ ศิลปประดิษฐ์ กิจกรรมศาสนา สม่ำเสมอ การรักษาพยาบาล รวดเร็ว ย่านสถานพยาบาลในชุมชน ต้องตรวจสุขภาพทันทีที่คุมตัว ทางจิต ต้องรักษาโดยผู้ชำนาญ ควรมีมาตรการพิเศษเรื่องยาเสพติดและฟื้นฟู ต้องไม่ให้ยาเพื่อเอาข้อมูลจากผู้เยาว์
การติดต่อกับภายนอก ผู้เยาว์มีสิทธิติดต่อกับภายนอกได้ ได้รับการเยี่ยมอย่างสม่ำเสมอ เขียนจดหมาย/โทรศัพท์ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ มีโอกาสรับข่าวสารจากภายนอก
กระบวนการด้านวินัย ศักดิ์ศรีมีความเป็นมนุษย์ เคารพสิทธิมนุษยชน ห้ามทารุณ/ขังห้องมืด/เฆี่ยนตี/ลดอาหาร มุ่งการศึกษา/เคารพตัวเอง/เตรียมตัวสู่สังคม ไม่ควรลงโทษซ้ำในความผิดเดียวกัน ต้องมีการกำหนดมาตรฐานวินัย จะลงโทษได้เมื่อมีข้อกำหนดไว้ชัดเจน