มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
การพัฒนาหลักสูตรสถานเลี้ยงเด็ก
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
การเจริญเติบโตของมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์
( Organization Behaviors )
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 3: แรงจูงใจ (อ.ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล)
บทที่ บทนำ....
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
Cognitive Development
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การพัฒนาบุคลิกภาพและการสมาคม
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
การบริการ คืออะไร ? คือ การสื่อสารอย่างครบวงจร สื่อจาก ท่าทาง
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Personality Development
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์
การสร้างวินัยเชิงบวก
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
การจูงใจ(Motivation)
( Human Relationships )
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ สามารถจำแนกความหมายได้ 3 แนวทาง คือ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ สติปัญญา/วัฒนธรรม/จิตใจสูง

ธรรมชาติของมนุษย์และสัตว์ มีความต้องการเหมือนกัน ความต้องการในการดำรงชีวิต ความต้องการในการสืบพันธุ์ การต่อสู้เพื่อการดำรงชีวิต การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม

ลำดับขั้นความต้องการ ของมนุษย์ตามทฤษฎีของ อับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) ความต้องการ ความสำเร็จ Actualization Needs ความต้องการการยอมรับนับถือ Esteem Needs or Ego ความต้องการทางสังคมและความรัก Love and Belonging Needs ความต้องการความมั่นคงและปลอดภัย Security and Safety Needs ความต้องการทางสรีระ Physiological Needs

“ บุคคลสามารถเป็นอะไรก็ได้ ถ้าเขามีความต้องการที่จะเป็น ” อับราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) “ บุคคลสามารถเป็นอะไรก็ได้ ถ้าเขามีความต้องการที่จะเป็น ”

หลักพัฒนาการของมนุษย์ 1.พัฒนาการจะเป็นไปอย่างต่อเนื่องกัน 2. พัฒนาการจะพัฒนาไปตามลำดับขั้นตอน 3. พัฒนาการจะพัฒนาไปตามทิศทางโดยเฉพาะ - กฎจากส่วนบนลงสู่ส่วนล่าง - กฎจากส่วนกลางสู่ภายนอก 4. อัตราการพัฒนาของแต่ละคนจะแตกต่างกัน 5. อัตราของพัฒนาการของแต่ละวัยจะแตกต่างกัน 6. อัตราการเจริญเติบโตของอวัยวะของแต่ละคน จะแตกต่างกัน 7. อัตราการเจริญเติบโตของชายและหญิงจะแตกต่างกัน

ความแตกต่างระหว่างบุคคล เชิงพฤติกรรม พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลต่อการ กำหนดบุคลิกลักษณะของบุคคล และทำให้แต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน

พันธุกรรม ลักษณะต่างๆที่ได้รับการถ่ายทอดเชื้อสาย หมายถึง ลักษณะต่างๆที่ได้รับการถ่ายทอดเชื้อสาย มาจากสายโลหิตตั้งแต่ลำดับชั้นของบรรพบุรุษ มาสู่ลูกหลาน โดยผ่านการสืบพันธุ์

รูปร่าง เพศ สติปัญญา อารมณ์ นิสัย ความถนัด สุขภาพ หมู่เลือด ลักษณะที่ถ่ายทอดได้ ทางพันธุกรรม

ความแตกต่างระหว่างบุคคล สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา การคบเพื่อน ถิ่นที่อยู่ ความแตกต่างระหว่างบุคคล จากสภาพสิ่งแวดล้อม

1.ขั้นการใช้ประสาทรับสัมผัส แรกเกิด-2ขวบ จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget’s Cognitive Development Theory) 1.ขั้นการใช้ประสาทรับสัมผัส แรกเกิด-2ขวบ จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2.ขั้นเตรียมการ 3-7 ขวบ ตนเองเป็นใหญ่ 3.ขั้นเรียนรู้รูปธรรม 8-12 ปี เข้าใจเหตุผล กว้าง เล็กกว่า จัดรวม แยกประเภท 4.ขั้นเรียนรู้สิ่งที่เป็นนามธรรม 13-16 ปี แก้ปัญหา เข้าใจกฎเกณฑ์ของสังคม

ทฤษฎีพัฒนาการทางเพศของฟรอยด์ (Freud’s Psychosexual Theory) 1. ขั้นความสุขอยู่ที่ปาก แรกเกิด - 2 ขวบ 2. ขั้นความสุขอยู่ที่การใช้ทวารหนัก วัย 2 - 3 ขวบ 3. ขั้นความสุขอยู่ที่การผูกพันกับบิดามารดา วัย 4 - 6 ขวบ 4. ขั้นความสุขอยู่ที่การเก็บกดความแฝงเร้นทางเพศ ไปสนสิ่งแวดล้อม วัย 6 - 12 ขวบ 5. ขั้นความสุขอยู่ที่การได้สนใจเพศตรงข้าม วัยรุ่น 13 - 18 ขวบ

ต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ของเด็กทำได้ดังนี้ วิธีการตอบสนอง ต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ของเด็กทำได้ดังนี้ 1. การใช้เหตุผล (Reasoning) 2. การใช้ท่าทีที่หนักแน่นและจริงจัง (Firmness) 3. การใช้สิ่งทดแทน (Alternative response) 4. ให้สามารถแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก (Freedom to discuss ideas and feelings) 5. การให้รางวัล (Positive reinforcement) 6. การเลิกให้ความสนใจ (Ignoring) 7. การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้ใหญ่ให้กับเด็ก (Positive model) 8. การลงโทษ (Punishment) นงพงา ลิ้มสุวรรณ พ.บ. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ร.พ.รามาธิบดี

การลงโทษ (Punishment) 8.1 การดุว่า การดุว่าด้วยวาจาในเด็กบางคนก็ได้ผลดี สามารถหยุดการกระทำ อันไม่สมควรของเด็ก ควรใช้เมื่อการบอกห้าม และการใช้เหตุผลไม่ได้ผลแล้ว 8.2 แยกเด็กออกไปอยู่ตามลำพัง เช่น เด็กนักเรียนคนหนึ่งคุยมากขณะเรียน รบกวน คนอื่นบ่อยๆ ก็อาจแยกเด็กไปนั่งคนเดียว หันหน้าเข้ามุมห้อง ทำให้เด็กไม่สนุก เบื่อที่เด็กทั่วไปจะไม่ชอบ อย่างมาก

? บุคลิกภาพที่ดี บุคลิกภาพที่ไม่ดี 1. การแต่งกาย………………………. 2. การมองบุคคล…………………. 3. การพูด……………………………... 4. การเดิน….………………………... 5. การยืน……………………………….. 6. การนั่ง……………………………….. 7. การไอ/จาม……………………... 8. การรับประทานอาหาร…. 9. การหยิบของหรือสิ่งต่างๆ 10. การแสดงความเคารพนับถือ 11. การทิ้งขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูล บุคลิกภาพที่ไม่ดี ?

การพัฒนาบุคลิกภาพ 1. บริหารร่างกายเป็นประจำ 2. รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อการบำรุงร่างกาย 3. พักผ่อนเพียงพอ 4. บริหารจิตใจ 5. พักผ่อนในวันสุดสัปดาห์

งานมอบหมาย 1 1.วิเคราะห์ตนเอง บุคลิกภาพ ภายนอก …………………….. ลักษณะนิสัย อารมณ์ ความชอบ ไม่ชอบ ……… 2.ให้ผู้อื่นวิเคราะห์……………………….. 3.วิธีการปรับปรุงตนเอง 4.วิธีการพัฒนาตนเอง ส่งวันที่ 25 มิ.ย. 48 เท่านั้น

งานมอบหมาย 2 ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ แล้วรายงานผลข้อมูล พร้อมสรุป เช่น พฤติกรรมการใช้ลิฟท์ พฤติกรรมการใช้กฎจราจร ส่งวันที่ 25 มิ.ย. 48 เท่านั้น