สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
esearch and Development
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
โครงการจัดทำร่างยุทธศาสตร์ความมั่นคงของมนุษย์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
รูปแบบแผนชุมชน.
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การเขียนรายงานการวิจัย
My school.
กระบวนการวิจัย Process of Research
My school.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
กลุ่มgirls’generation
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11 ชื่อเรื่อง : รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัด การป่าอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา ป่าดงเมา- ดงคำกลาง อำเภอนาทม จ . นครพนม ผู้วิจัย : นายวรรณ สิงห์คำ เสนอโดย : นายสะหมิง แสงพระจันทร์ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11 รหัส 55422319104

ภูมิหลัง ทรัพยากรป่าไม้ ( Forest Resources ) หมายถึง ทรัพยากรต่าง ๆที่มีอยูในสังคมของป่าทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น สิ่งมีชีวิดหรือสี่งไม่มีชีวิด ดังนั้น ทรัพยากรป่าไม้ จึงหมายถืง ทรัพยากรอื่นๆ ได้แก่ สัดว์ป่า , ของป่า , ที่ดิน , ป่าไม้ ต้นน้ำลำธารและสภาพแวดล้อมทั่วไปของป่า . ทรัพยากรป่าไม้มีความสำคัญ ในการดำรงชีพของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และ เครื่องนุ่งห่ม ในทางกลับกันหากป่าไม้ถูกทำลายลงก็จะก่อให้เกีดปัญหาต่างๆ ป่าดงเมา - ดงคำกลางมีเนื้อที่ประมาณ 4,050 ไร่ เป็นป่าไม้ที่มีความอุดมสมบูรณ์ชื่งเกีดมาจากการมีส่วนร่วมของชุมชน .

ปัญหาการวิจัย 1. สภาพป่า ปัญหา และ การจัดการป่าดงเมา - ดงคำกลางอำเภอนาทม จ . นครพนม เป็นอย่างไร 2. รูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ป่าดงเมา - ดงคำกลาง อำเภอนาทม จ . นครพนม เป็นอย่างไร

ความสำคัญของการวิจัย ความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อศืกษาสภาพป่า ปัญหา และ การจัดการป่าดงเมา - ดงคำกลางของประชาชนที่อยู่ใกล้ป่า อำเภอนาทม จ . นครพนม 2. เพื่อหารูปแบบของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ป่าดงเมา - ดงคำกลาง อำเภอนาทม จ . นครพนม อย่างยั่งยืน . ความสำคัญของการวิจัย 1. ผลการวิจัยคั้งนี้ จะทำให้ทราบ สภาพป่า ปัญหา ความต้องการและการมีส่วนร่วมในการจัดการป่าอย่างยั่งยืน . 2. จะทำให้ได้รูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ป่าย่างยั่งยืน .

ขอบเขตของการวิจัย 1. ศืกษาภาพป่า ปัญหา และ การจัดการป่า โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รวมทั้งกิจกรรมที่ดำเนีนการในพื้นที่ การศืกษาภาดสนาม (Field Study)โดยสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลืก (Indepth Interview ) และ การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion ) กับแกนนำชุมชนผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นในชุมชนที่อยู่ใกล้ป่าดงเมา - ดงคำกลาง. 2. ส้างรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าโดยใช้ผลการศืกษาในข้อที่1 . 3 . ตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาที่สร้างขื้นโดยการทำประชาพิจารณ์ กับแกนนำ ชุมชนผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นในชุมชนที่อยู่ใกล้ป่าดงเมา - ดงคำกลาง. 4 . ปรับปรุงรูปแบบตามข้อเสนอแนะที่ได้จากการทำประชาพิจารณ์ในพื้นที่ 5 . สังเคราะห์ และ สรุปรูปแบบแล้วสรุปผลการวิจัย .

กรอบแนวคิดในการวิจัย รวบรวม ข้อมูลจากเอกสาร และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ส้างรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าอย่างยั่งยืน ตรวจสอบ และปรับ ปรุงรูป แบบการ พัฒนาที่สร้างขื้น ได้รูปแบบการพัฒนา การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าอย่างยั่งยืน ศืกษาภาพป่า ปัญหา และ การจัดการ

นิยามศัพท์เฉพาะ 1 การพัฒนา 2 การมีส่วนร่วมของประชาชน 3 การจัดการป่าชุมชน 4 การจัดการป่าอย่างยั่งยืน 5 ชุมชน 6 ป่าชุมชน 7 ผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 . แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนวคิดเกี่ยวกับป่าชุมชน 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 1.3 แนวคิดเกี่ยวกับการมิส่วนร่วมของประชาชน 1.4 แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน 2 . งานวิจัยที่เกียวข้อง

โดยมีการดำเนินการวิจัย 5 ขั้นตอนดังนี้ วิธีดำเนินการวิจัย โดยมีการดำเนินการวิจัย 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพป่าปัญหาความต้องการ ขั้นที่ 2 การสร้างรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมประชาชนในการจัดการป่า ขั้นที่ 3 การตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาที่สร้างขื้น ขั้นที่ 4 การปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า ขั้นที่ 5 การสังเคราะห์ และ สรุปรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า

เครื่องมือที่ไช้ในการวิจัย 1. แบบสัมภาษณ์ข้อมูลสภาพป่า ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานผู้ให้ข้อมูล ส่วนที่ 2 ประเด็นการสัมภาษณ์ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล แบบสัมภาษณ์

ຂອບໃຈ