สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11 ชื่อเรื่อง : รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัด การป่าอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา ป่าดงเมา- ดงคำกลาง อำเภอนาทม จ . นครพนม ผู้วิจัย : นายวรรณ สิงห์คำ เสนอโดย : นายสะหมิง แสงพระจันทร์ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา รุ่นที่ 11 รหัส 55422319104
ภูมิหลัง ทรัพยากรป่าไม้ ( Forest Resources ) หมายถึง ทรัพยากรต่าง ๆที่มีอยูในสังคมของป่าทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น สิ่งมีชีวิดหรือสี่งไม่มีชีวิด ดังนั้น ทรัพยากรป่าไม้ จึงหมายถืง ทรัพยากรอื่นๆ ได้แก่ สัดว์ป่า , ของป่า , ที่ดิน , ป่าไม้ ต้นน้ำลำธารและสภาพแวดล้อมทั่วไปของป่า . ทรัพยากรป่าไม้มีความสำคัญ ในการดำรงชีพของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และ เครื่องนุ่งห่ม ในทางกลับกันหากป่าไม้ถูกทำลายลงก็จะก่อให้เกีดปัญหาต่างๆ ป่าดงเมา - ดงคำกลางมีเนื้อที่ประมาณ 4,050 ไร่ เป็นป่าไม้ที่มีความอุดมสมบูรณ์ชื่งเกีดมาจากการมีส่วนร่วมของชุมชน .
ปัญหาการวิจัย 1. สภาพป่า ปัญหา และ การจัดการป่าดงเมา - ดงคำกลางอำเภอนาทม จ . นครพนม เป็นอย่างไร 2. รูปแบบที่เหมาะสมของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ป่าดงเมา - ดงคำกลาง อำเภอนาทม จ . นครพนม เป็นอย่างไร
ความสำคัญของการวิจัย ความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อศืกษาสภาพป่า ปัญหา และ การจัดการป่าดงเมา - ดงคำกลางของประชาชนที่อยู่ใกล้ป่า อำเภอนาทม จ . นครพนม 2. เพื่อหารูปแบบของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ป่าดงเมา - ดงคำกลาง อำเภอนาทม จ . นครพนม อย่างยั่งยืน . ความสำคัญของการวิจัย 1. ผลการวิจัยคั้งนี้ จะทำให้ทราบ สภาพป่า ปัญหา ความต้องการและการมีส่วนร่วมในการจัดการป่าอย่างยั่งยืน . 2. จะทำให้ได้รูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ป่าย่างยั่งยืน .
ขอบเขตของการวิจัย 1. ศืกษาภาพป่า ปัญหา และ การจัดการป่า โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รวมทั้งกิจกรรมที่ดำเนีนการในพื้นที่ การศืกษาภาดสนาม (Field Study)โดยสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลืก (Indepth Interview ) และ การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion ) กับแกนนำชุมชนผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นในชุมชนที่อยู่ใกล้ป่าดงเมา - ดงคำกลาง. 2. ส้างรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าโดยใช้ผลการศืกษาในข้อที่1 . 3 . ตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาที่สร้างขื้นโดยการทำประชาพิจารณ์ กับแกนนำ ชุมชนผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่นในชุมชนที่อยู่ใกล้ป่าดงเมา - ดงคำกลาง. 4 . ปรับปรุงรูปแบบตามข้อเสนอแนะที่ได้จากการทำประชาพิจารณ์ในพื้นที่ 5 . สังเคราะห์ และ สรุปรูปแบบแล้วสรุปผลการวิจัย .
กรอบแนวคิดในการวิจัย รวบรวม ข้อมูลจากเอกสาร และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ส้างรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าอย่างยั่งยืน ตรวจสอบ และปรับ ปรุงรูป แบบการ พัฒนาที่สร้างขื้น ได้รูปแบบการพัฒนา การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าอย่างยั่งยืน ศืกษาภาพป่า ปัญหา และ การจัดการ
นิยามศัพท์เฉพาะ 1 การพัฒนา 2 การมีส่วนร่วมของประชาชน 3 การจัดการป่าชุมชน 4 การจัดการป่าอย่างยั่งยืน 5 ชุมชน 6 ป่าชุมชน 7 ผู้บริหารองค์กรปกครองท้องถิ่น
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 . แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนวคิดเกี่ยวกับป่าชุมชน 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 1.3 แนวคิดเกี่ยวกับการมิส่วนร่วมของประชาชน 1.4 แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน 2 . งานวิจัยที่เกียวข้อง
โดยมีการดำเนินการวิจัย 5 ขั้นตอนดังนี้ วิธีดำเนินการวิจัย โดยมีการดำเนินการวิจัย 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาสภาพป่าปัญหาความต้องการ ขั้นที่ 2 การสร้างรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมประชาชนในการจัดการป่า ขั้นที่ 3 การตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาที่สร้างขื้น ขั้นที่ 4 การปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า ขั้นที่ 5 การสังเคราะห์ และ สรุปรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า
เครื่องมือที่ไช้ในการวิจัย 1. แบบสัมภาษณ์ข้อมูลสภาพป่า ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานผู้ให้ข้อมูล ส่วนที่ 2 ประเด็นการสัมภาษณ์ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล แบบสัมภาษณ์
ຂອບໃຈ